Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15624
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | กรมวิชาการเกษตร | - |
dc.date.accessioned | 2016-01-15T04:12:29Z | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-17T11:35:47Z | - |
dc.date.available | 2016-01-15T04:12:29Z | - |
dc.date.available | 2021-05-17T11:35:47Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15624 | - |
dc.description.abstract | ข้อมูลทั่วไป : ประวัติ : ข้าวเจ้าพันธุ์เข็มทองพัทลุง (PTLC97001-4-2) ได้จากการรวบรวมพันธุ์ข้าวเข็มทองท้องถิ่นในปีพ.ศ.2540 นำมาปลูกคัดเลือก ปลูกเปรียบเทียบผลผลิต และทดสอบคุณภาพ ตามขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ระหว่างปีพ.ศ.2542-2546 ที่ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง ได้พันธุ์ที่มีคุณสมบัติทางกายภาพ และคุณสมบัติทางการหุงต้มดีกว่าพันธุ์พื้นเมืองท้องถิ่น ลักษณะทั่วไป : ข้าวไวต่อช่วงแสง ทรงกอตั้งตรง สูงประมาณ 186 เซนติเมตร คอรวงยาว รวงแน่นปานกลาง ระแง้ถี่ ออกดอกประมาณ วันที่ 14 มกราคม ระยะพักตัวของเมล็ด 2 สัปดาห์ จำนวนรวงต่อตารางเมตรเฉลี่ย 162 รวง จำนวนเมล็ดดีต่อรวง เฉลี่ย 287 เมล็ด น้ำหนักข้าวเปลือก 100 เมล็ด 2.05 กรัม น้ำหนักข้าวเปลือกต่อถัง 10.86 กิโลกรัม ปริมาณอมิโลส 23.30 เปอร์เซ็นต์ ลักษณะเด่น : ให้ผลผลิตสูง เฉลี่ย 529 กิโลกรัมต่อไร่ สูงกว่าพันธุ์เล็บนกปัตตานี ร้อยละ 16 ลักษณะต้นแข็งไม่ล้ม ต้านทานโรคขอบใบแห้งดีกว่าพันธุ์เล็บนกปัตตานี พื้นที่แนะนำ : พื้นที่ภาคใต้ที่ปลูกข้าวนาปีในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดพัทลุง ข้อควรระวัง : ไม่ต้านทานโรคไหม้ในสภาพเรือนทดลอง | th_TH |
dc.language.iso | th_TH | th_TH |
dc.publisher | กรมวิชาการเกษตร | th_TH |
dc.subject | ความไม่มั่นคงทางอาหาร | th_TH |
dc.title | ข้าวเจ้าพันธุ์เข็มทองพัทลุง | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
Appears in Collections: | 993 ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ข้าวเจ้าเข็มทองพัทลุง.docx | 12.36 kB | Microsoft Word XML | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.