Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8555
Title: รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์การเก็บรักษาและการเกิดเป็นต้นของโพรโทคอร์มไลค์บอดี้ของกล้วยไม้รองเท้านารีขาวสตูล : Paphiopedilum niveum (Rchb.f.) pfitz
Other Titles: การเก็บรักษาและการเกิดเป็นต้นของโพรโทคอร์มไลค์บอดี้ของกล้วยไม้รองเท้านารีขาวสตูล : Paphiopedilum niveum (Rchb.f.) pfitz : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
Preservation and regeneration of protocrm-like bodies of lady's slipper orchid : bPaphiopedilum niveum (Rchb.f.) pfitz
Authors: อุปถัมถ์ มีสวัสดิ์
ครรชิต ธรรมศิริ
Faculty of Science (Biology)
คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาชีววิทยา
มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาพฤกษศาสตร์
Keywords: รองเท้านารี;กล้วยไม้
Issue Date: 2554
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract(Thai): ทำการชักนำแคลลัสกล้วยไม้รองเท้านารีจากเมล็ดและเพิ่มปริมาณแคลลลัสที่มีอยู่เดิมบนอาหารสูตร CIM ร่วมด้วยสารควบคุมการเจริญเติบโต เมื่อเพาะเลี้ยงแคลลัสบนอาหารสูตร PLBIM ที่มีสารควบคุมการเจริญเติบโตร่วมด้วยน้ำตาลซูโครส 10 % สามารถเกิดเป็นโพรโทคอร์มไลค์บอดี้ได้ดีกว่าสูตรอาหาร PLBIM ที่ไม่มีสารควบคุมการเจริญเติบโตใด ๆ แม้ว่าจะมีหรือไม่มีน้ำตาลรูโครส การเพาะเลี้ยงโพรโทคอร์มไลค์บอดี้บนอาหารสูตร SLIM ร่วมกับสารอินทรีย์ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งกล้วยหอม) สามารถพบการเจริญเป็นต้นอ่อนได้ดี ส่วนอาหารสูตร SLIM ร่วมด้วยสารควบคุมการเจริญเติบโตไม่เหมาะกับระยะการเจริญเป็นต้นอ่อน การเก็บรักษาชิ้นส่วนพืชด้วยวิธี vitirication โดยเก็บในรูปแบบแคลลัสไม่ประสบความสำเร็จเมื่อเปรียบเทียบกับการเก็บรักษาในรูปแบบโพรโทคอร์มไลค์บอดี้ การแช่โพรโทคอร์มไลค์บอดี้ในสารละลาย PVS2 เป็นเวลา 120 นาที ก่อนนำไปเก็บในอุณหภูมิต่ำ สามารถเก็บรักษาสารคารโบไฮเดรตภายในเซลล์ไว้ได้ และมีแนวโน้มที่เซลล์สามารถมีชีวิตอยู่และเจริญเติบโตต่อไปได้หลังการเก็บรักษาในอุณหภูมิต่ำ การตรวจสอบสารจำเป็นต่อการเจริญเติบโตชนิดอื่นควรมีการปรับปรุง
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8555
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/246265
Appears in Collections:330 Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
357916.pdf17.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons