Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19611
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมพร คุณวิชิต | - |
dc.contributor.author | ประนอม ละอองแก้ว | - |
dc.date.accessioned | 2024-12-11T03:15:02Z | - |
dc.date.available | 2024-12-11T03:15:02Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19611 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2566 | en_US |
dc.description.abstract | The purposes of this research are to (1) examine the level of curiosity in online learning; (2) investigate the factors that influence curiosity in online learning; and (3) provide suggestions for enhancing online teaching and learning of Songkhla Technological College. The study sample consisted of 177 students enrolled at Songkhla Technological College in Mueang District, Songkhla Province. Data were collected via questionnaires and were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression. The results showed that (1) students exhibited a high level of curiosity in online learning, and (2) there were three factors that influenced curiosity in online learning — namely, the quality of online learning content (Beta = 0.331), adequacy of online teaching tools and resources (Beta = 0.292), and the capability of academic personnel (Beta = 0.258). These results emphasize the importance of these factors in influencing students' curiosity towards online learning. Consequently, Songkhla Technological College should prioritize the enhancement of online learning content quality, the availability of online teaching tools and resources, and the capability of academic personnel to foster curiosity in online learning among students. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | ความสนใจใฝ่รู้ | en_US |
dc.subject | การเรียนออนไลน์ | en_US |
dc.subject | แนวทางการปรับปรุง | en_US |
dc.subject | สื่อการสอน | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสนใจใฝ่รู้ในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสงขลา | en_US |
dc.title.alternative | Factors Affecting Curiosity in Online Learning of Students in Songkhla Technological College | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Public Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสนใจใฝ่รู้ต่อการเรียนออนไลน์ (2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสนใจใฝ่รู้ในการเรียนออนไลน์ และ (3) เสนอแนะแนวทางการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนออนไลน์ของวิทยาลัยเทคโนโลยีสงขลาให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา จำนวน 177 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ผลกระทบของตัวแปรด้วยการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า 1) ระดับความสนใจใฝ่รู้ในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษาอยู่ในระดับมาก 2) ปัจจัยที่มีผลต่อความสนใจใฝ่รู้ในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษา มี 3 ปัจจัย ได้แก่ คุณภาพของบทเรียนออนไลน์ (Beta = 0.331) รองลงมา คือความพร้อมด้านอุปกรณ์และสื่อการสอนออนไลน์ (Beta = 0.292) และความพร้อมด้านบุคลากรสายวิชาการ (Beta = 0.258) ตามลำดับ ผลการวิจัยดังกล่าวทำให้ทราบว่าปัจจัยเหล่านี้มีความสำคัญต่อระดับความสนใจใฝ่รู้ในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสงขลา ดังนั้น วิทยาลัยเทคโนโลยีสงขลาจึงควรให้ความสำคัญกับคุณภาพของบทเรียนออนไลน์ ความพร้อมด้านอุปกรณ์และสื่อการสอนออนไลน์ และความพร้อมด้านบุคลากรสายวิชาการ สิ่งเหล่านี้จะส่งเสริมระดับความสนใจใฝ่รู้ในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษาได้มากยิ่งขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | 465 Minor Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6410521525.pdf | 975.4 kB | Adobe PDF | View/Open | |
6410521525.บทความ.pdf | 302.8 kB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License