Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19422
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิเลาะ แวอุเซ็ง | - |
dc.contributor.author | ฮาซานะห์ หยงสตาร์ | - |
dc.date.accessioned | 2024-05-29T07:22:02Z | - |
dc.date.available | 2024-05-29T07:22:02Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19422 | - |
dc.description | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารและการจัดการการศึกษาอิสลาม), 2566 | en_US |
dc.description.abstract | This qualitative research that aimed to examine the indicators of guidelines for the tutoring school administration in line with Islamic ways in Pattani province was conducted by developing indicators, evaluating indicators by experts, and synthesizing indicators as guidelines for the administration of tutoring schools based on Islamic ways. The target groups consisted of six key informants and five scholarly experts, purposively selected based on prescribed criteria. The instruments used were semi-structured interview, indicator validation form, and administrative guideline verification form. The data was analyzed using content analysis, an index of item objective congruence (IOC), and frequency for confirming suitability of the guidelines. The research result reveals 28 indicators of administrative guidelines for tutoring schools, which can be classified into nine indicators of learners, eleven indicators of administration, and eight indicators of instructional management. These measures can be synthesized into seven development guidelines, namely, focusing on developing skills, knowledge and abilities along with morality and etiquette according to Islamic way for students, facilitating the practice of religion for students and teachers, continuously organizing comprehensive assessment of all aspects in accordance with Islamic principles, adopting teaching model integrated with the universal Islamic ways, offering modern and diverse integrated Islamic curriculum, designing classroom of happiness, giving respect to diversity and inspiring Islamic atmosphere, and managing schools professionally under the Islamic concept. (7) Related Institutes and stakeholders can apply these administrative guidelines to improve and develop tutoring school quality that is consistent with the identity of students in the southern border provinces. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | ตัวชี้วัด | en_US |
dc.subject | แนวทางการบริหารโรงเรียนกวดวิชา | en_US |
dc.subject | โรงเรียนกวดวิชา | en_US |
dc.subject | วิถีอิสลาม | en_US |
dc.title | ตัวชี้วัดแนวทางการบริหารโรงเรียนกวดวิชาที่สอดคล้องกับวิถีอิสลามในจังหวัดปัตตานี | en_US |
dc.title.alternative | Indicators of Guidelines for Administration of Tutoring Schools based on Islamic Ways in Pattani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Islamic Sciences | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการอิสลาม | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวชี้วัดแนวทางการบริหารโรงเรียน กวดวิชาที่สอดคล้องกับวิถีอิสลามในจังหวัดปัตตานี ดําเนินการโดยการพัฒนาตัวชี้วัด การประเมิน ตัวชี้วัดโดยผู้เชี่ยวชาญ และการสังเคราะห์ตัวชี้วัดเป็นแนวทางการบริหารโรงเรียนกวดวิชาที่ สอดคล้องกับวิถีอิสลาม โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสําคัญจํานวน 6 คน และ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญจํานวน 5 คน ใช้วิธีเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ที่กําหนด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบประเมินตัวชี้วัด และแบบตรวจสอบแนวทาง การดําเนินงาน วิเคราะห์ผลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา การหาค่าดัชนีความสอดคล้องและ การหาค่าความถี่ในการตรวจสอบความเหมาะสม ผลการวิจัยพบว่า ตัวชี้วัดแนวทางการบริหารโรงเรียนกวดวิชาที่สอดคล้องกับ วิถีอิสลามมี 28 ตัวชี้วัด จําแนกออกเป็น ด้านผู้เรียน 9 ตัวชี้วัด ด้านการบริหารจัดการ 11 ตัวชี้วัด และด้านการจัดการเรียนการสอน 8 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดดังกล่าวนี้สามารถสังเคราะห์ออกเป็น แนวทางการพัฒนาได้ 7 แนวทางคือ มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถควบคู่กับคุณธรรม มารยาทตามวิถีอิสลามให้ผู้เรียน อํานวยความสะดวกในการปฏิบัติศาสนกิจแก่นักเรียนและครูผู้สอน จัดการประเมินครอบคลุมทุกด้านอย่างต่อเนื่องในแนวทางอิสลาม ใช้รูปแบบการเรียนการสอน บูรณาการกับวิถีอิสลามแบบสากล นําเสนอหลักสูตรบูรณาการอิสลามที่ทันสมัยและหลากหลาย ออกแบบสถานที่ห้องเรียนแห่งความสุข เคารพความหลากหลายและสร้างแรงบันดาลใจในบรรยากาศ แห่งอิสลาม และบริหารโรงเรียนอย่างมืออาชีพภายใต้แนวคิดวิถีอิสลาม หน่วยงานและผู้เกี่ยวข้องสามารถนําแนวทางการบริหารดังกล่าวนี้ไปปรับใช้เพื่อ ยกระดับและพัฒนาคุณภาพโรงเรียนกวดวิชาที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของผู้เรียนในพื้นที่จังหวัด ชายแดนใต้ | en_US |
Appears in Collections: | 761 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6520420118.pdf | 4.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License