Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18072
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อับดุลฮากัม เฮ็งปิยา | - |
dc.contributor.author | ยามีละห์ ยาหมาย | - |
dc.date.accessioned | 2023-04-21T06:52:17Z | - |
dc.date.available | 2023-04-21T06:52:17Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18072 | - |
dc.description | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารและการจัดการการศึกษาอิสลาม),2565 | en_US |
dc.description.abstract | There has been a requirement for private institutions to design and develop their educational curricula. The assessment of the implementation of the schools’ basic education curriculum is, therefore, necessary to revise the curriculum and improve its effectiveness. Hence, this mixed research methodology aimed to 1) study the use of basic education curricula, B.E. 2551 2) compare the use of the basic education curricula, B.E. 2551 based on the gender, educational levels, and work experiences, and 3) develop guidelines for developing the curriculum implementation. The CIPP model was used, which consists of four main dimensions, namely, context, input, process, and product (CIPP). The sample used in this study consists of 287 teachers of the private education institutions registered under the Office of the Private Education, Satun Province. And, 10 educational experts participated in this study. The main research instruments consisted of both questionnaires as well as a semi-structured interview. The collected data were analyzed by using a t-test, One-Way ANOVA, and content analysis. The results revealed as below; 1. the results of evaluation of implementation of basic educational core curriculum B.E. 2551 under the Office of the Private Education, Satun province by using the CIPP model, which includes context, input, process, and product, as below; 1) Context: The overall level and the level of each item regarding the implementation in an aspect of the context of basic educational core curriculum B.E.2551 under the Office of the Private Education, Satun province, as perceived by teachers was high. 2) Input: The overall level and the level of each item regarding the implementation in an aspect of the input of basic educational core curriculum B.E.2551 under the Office of the Private Education, Satun province, as perceived by teachers was high. 3) Process: The overall level and the level of each item regarding the implementation in an aspect of the curriculum administration and management of basic educational core curriculum B.E.2551 under the Office of the Private Education, Satun province, as perceived by teachers was high. 4) Product: The overall level and the level of each item regarding the implementation in an aspect of the product of basic educational core curriculum B.E.2551 under the Office of the Private Education, Satun province, as perceived by teachers was high. 1. The results of comparison of the implementation of basic educational core curriculum B.E.2551 under the Office of the Private Education, Satun province based on gender, work experiences, and educational levels as below; 1) The implementation of the basic core curriculum, B.E. 2551 as perceived by teachers based on their gender difference showed that there were no significant differences (p-value > 0.05) between males and females in the curricula implementation. 2) The implementation of the basic core curriculum, B.E. 2551 as perceived by teachers based on their difference in work experiences revealed that there were no significant differences (p-value > 0.05) between teachers who have different levels of work experiences. However, the result revealed that the curriculum implementation in an aspect of the process based on work experiences was found to be statistically significant. 3) The implementation of the basic core curriculum, B.E. 2551 as perceived by teachers based on their difference in educational levels revealed that there were no significant differences (p-value > 0.05) between teachers who have different levels of education. 3. Guidelines for developing the curriculum implementation revealed the following results; 1) Educational institutions should group similar key indicators to reduce the time spent during the process of conducting teaching and learning and also to develop an evaluation method, which is suitable to the school context. 2) Educational institutions should consider promoting the revision of the core curriculum to make it more responsive to the rapid change in the economy and society 3) Educational institutions should also disseminate and promote the core curriculum to the public. They also should ensure that the developed core curriculum was driven by the local’s policies and requirements. This research also suggested that the institution should ensure that there are sufficient computer laboratories to do research, and a flexible process of borrowing and returning the academic equipment. 4) Educational institutions should support the development of standard evaluation conducted by the core curriculum board committee and academics. Also, institutions should support curriculum planning and design, promote the integration of knowledge, and conduct classroom research. Other suggestions derived from this research findings were that institutions should also promote the sharing, discussing, and encouraging sharing of the opinion to improve the development of the core curriculum. 5) Educational institutions should continuously improve the quality and students’ performance. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การประเมินหลักสูตร | en_US |
dc.subject | หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 | en_US |
dc.subject | ครูผู้สอนสังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล | en_US |
dc.title | การประเมินการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล | en_US |
dc.title.alternative | Evaluation of Implementation of Basic Educational Core Curriculum B.E.2551 Under Office of The Private Education Satun Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Islamic Sciences | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการอิสลาม | - |
dc.description.abstract-th | ปัจจุบันสถานศึกษาต้องดำเนินการจัดทำหลักสูตรขึ้นใช้เอง การประเมินการใช้หลักสูตรการศึกษาจึงมีความจำเป็นเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพ การวิจัยแบบผสานวิธีนี้วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2) เปรียบเทียบการใช้หลักสูตร จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงาน และ 3) ประมวลแนวทางการพัฒนาการใช้หลักสูตรดังกล่าว ใช้แบบจำลองซิปป์ (CIPP) ในการประเมินองค์ประกอบด้านบริบท ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิตที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร กลุ่มตัวอย่างเป็นครูผู้สอนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูลจังหวัดสตูล จำนวน 287 คน และผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา จำนวน 10 คน เครื่องมือวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามและสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์-ข้อมูลเชิงโดยใช้ t-test และ One-Way ANOVA และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการศึกษาพบว่า 1.ความคิดเห็นต่อการประเมินการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูลใน 4 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านบริบท พบว่า การใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล ด้านบริบท โดยภาพรวมและรายข้ออยู่ในระดับมาก 2) ด้านปัจจัยเบื้องต้นพบว่า การใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล ด้านปัจจัยเบื้องต้นโดยภาพรวมและรายข้ออยู่ในระดับมาก 3) ด้านกระบวนการ พบว่า การใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล ด้านกระบวนการ(การบริหารและการจัดการหลักสูตร) โดยภาพรวมและรายข้ออยู่ในระดับมาก 4) ด้านผลผลิต พบว่า การใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล ด้านผลผลิต โดยภาพรวมและรายข้ออยู่ในระดับมาก 2. ผลการเปรียบเทียบการประเมินการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล โดยจำแนกตามเพศ ประสบการณ์ทำงาน และระดับการศึกษา 1) ผลการเปรียบเทียบการประเมินการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล ระหว่างเพศชายและเพศหญิง พบว่า ครูผู้สอนโรงเรียนเอกชนในจังหวัดสตูลเพศชายและเพศหญิง มีการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ครูผู้สอนที่มีเพศต่างกัน มีการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลการเปรียบเทียบการประเมินการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล ระหว่างครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ทำงานต่างกัน พบว่าครูผู้สอนโรงเรียนเอกชนในจังหวัดสตูลที่มีประสบการณ์การสอนที่ต่างกันมีการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในด้านกระบวนการตากต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผลการเปรียบเทียบการประเมินการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล ระหว่างครูผู้สอนที่มีระดับการศึกษาต่างกัน พบว่า ครูผู้สอนโรงเรียนเอกชนในจังหวัดสตูลที่มีระดับการศึกษาที่ต่างกัน มีการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการวิเคราะห์แนวทางในการประเมินการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล 1) สถานศึกษาควรมีการศึกษาวิเคราะห์ตัวชี้วัดของหลักสูตรที่มีความคล้ายคลึงกันเข้าด้วยกันเพื่อลดเวลาการจัดกระบวนการเรียนการสอน การวัดผลประเมินผล ให้เหมาะสมกับสภาพบริบทของโรงเรียน 2) ด้านบริบท สถานศึกษาควรส่งเสริมหลักสูตรตอบสนองต่อสภาวะเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว 3) ด้านปัจจัยเบื้องต้นสถานศึกษาควรเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรนอกสถานศึกษา รับทราบการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา และจัดสาระหลักสูตรเป็นไปตามแนวนโยบายและความต้องการของท้องถิ่น เพิ่มห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ให้เพียงพอต่อการค้นคว้า และให้ความสะดวกในการยืม-คืนสื่อการเรียนการสอนมีความสะดวก 4) ด้านกระบวนการสถานศึกษาควรส่งเสริมให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษากำหนดรูปแบบระเบียบประเมินผล วางแผนจัดกระบวนการเรียนรู้ให้มีการบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ สนับสนุนให้ครูทำวิจัยในชั้นเรียน และนำผลการนิเทศมาร่วมประชุม อภิปรายหลังการนิเทศ สำรวจความคิดเห็นเพื่อร่วมกันปรับปรุงพัฒนาการบริหารหลักสูตร 5) ด้านผลผลิต สถานศึกษาส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพและยกระดับผลการเรียนของนักเรียน | en_US |
Appears in Collections: | 761 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6320420108.pdf | 1.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License