Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17881
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิเลาะ แวอุเซ็ง | - |
dc.contributor.author | คอดีญะห์ แบจะ | - |
dc.date.accessioned | 2023-02-28T08:56:55Z | - |
dc.date.available | 2023-02-28T08:56:55Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17881 | - |
dc.description | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารและการจัดการการศึกษาอิสลาม), 2565 | en_US |
dc.description.abstract | The objectives of this research were 1) to examine the instructional supervision conditions of Islamic private schools in Songkhla province, 2) to compare the instructional supervision conditions of Islamic private schools in Songkhla province by school sizes and 3) to propose guidelines for the development of the instructional supervision conditions of Islamic private schools in Songkhla province. The sample size used in this study was 339 respondants who were proportionally randomly sellected from 46 Islamic private schools in Songkhla province. The data was analysed using descriptive statistics i.e., frequecies, percentages, means and standard deviation and inferential statistics based on F-test. The results of the study reveal as follow: 1) Teachers’ perceived level of instructional supervervision implementation of Ialamic private schools in Songkhla province in overall and each aspect is high. 2) There are no statistically significant differences found in the overall and each aspect of the perceived level of the comparison of instructional supervision of Islamic private schools in Songkhla province by school sizes. 3) The proposed guidelines are that hands-on training on instructional supervision should be organized for those concerned to help achieve its objectives effectively; variety and adaptability of instructional supervison approaches are to be applied accordingly within the present context; performance evaluation should be informed to the supervisees for better improvement. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การนิเทศการสอน | en_US |
dc.subject | โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม | en_US |
dc.subject | การนิเทศการศึกษา | en_US |
dc.title | สภาพและแนวทางการดำเนินการนิเทศการสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จังหวัดสงขลา | en_US |
dc.title.alternative | States and Guidelines for Instructional Supervision of Islamic Private Schools in Songkhla Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการอิสลาม | - |
dc.contributor.department | Faculty of Islamic Sciences | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาสภาพการนิเทศการสอนของโรงเรียนเอกชน สอนศาสนาอิสลาม จังหวัดสงขลา 2) เปรียบเทียบสภาพการนิเทศการสอนของโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลาม จังหวัดสงขลา จ าแนกตามขนาดของโรงเรียน และ 3) เสนอแนวทางการพัฒนาการ นิเทศการสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บ ข้อมูล คือ ครูผู้สอนจ านวน 339 คน ซึ่งได้จากการสุ่มอย่างง่ายตามสัดส่วนจากโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลามในจังหวัดสงขลา ทั้งหมดจ านวน 46 โรงเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานโดยใช้ F-test ผลการวิจัย พบว่า 1) การด าเนินงานนิเทศการสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จังหวัดสงขลา ตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จังหวัดสงขลา โดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก 2) การเปรียบเทียบการด าเนินงานนิเทศการสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา อิสลาม จังหวัดสงขลา ตามความคิดเห็นของครูโดยจ าแนกตามขนาดโรงเรียน พบว่า โดยภาพรวม และรายด้านไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อการพัฒนาการนิเทศการสอนของโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลาม จังหวัดสงขลา คือควรจัดให้มีการอบรมเกี่ยวกับการนิเทศการสอนให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการนิเทศการสอน ผู้นิเทศควรใช้วิธีการนิเทศการสอนที่หลากหลายและ สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการนิเทศได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ ผู้นิเทศควรชี้แจงผลการ ประเมินการนิเทศการสอนเพื่อให้ครูผู้สอนน าผลการประเมินมาแก้ไขและปรับปรุงให้สามารถน าไปใช้ ได้จริงอย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ | en_US |
Appears in Collections: | 761 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6120420107.pdf | วิทยานิพนธ์ | 1.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License