Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17642
Title: แนวทางการเพิ่มค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยวในภาคใต้
Other Titles: รายงานฉบับสมบูรณ์ แผนงานวิจัย แนวทางการเพิ่มค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยวในภาคใต้
The guidance for maimizing tourist expenditure per person in Southern Thailand
Authors: ภาสกร ธรรมโชติ
บุญฤทธิ์ ชูประดิษฐ์
นนทิภัค เพียรโรจน์
ธีรศักดิ์ จินดาบถ
ลภัสวัฒน์ ศุภผลกุลนันทร์
พิมพิกา พูลสวัสดิ์
อภิวัฒน์ อายุสุข
Faculty of Liberal Arts and Management Sciences
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ
Faculty of Science and Industrial Technology
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
Faculty of Management Sciences (Business Administration)
คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ
Keywords: นักท่องเที่ยว ไทย (ภาคใต้);นักท่องเที่ยว ค่าใช้จ่าย
Issue Date: 2562
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: In the past several years, tourist sector is very important to Thai economy. Thai economy has become tourist-led growth. Southern Thailand is one of the region in Thailand which has high potential in tourist industry as there are many famous local and global tourist attractions. Tourist sector has driven Southern Thailand economy for the past few years. This research aims to study (1) the situation in tourism sector in the South of Thailand and factors affecting demand for tourism.(2) comparison of factors determining tourist expenditure and willingness to pay for travelling to Aao-Thai Southern coast of Thailand and Andaman Side of Thailand. (3) guideline to increase travel expenditure of tourists in the South of Thailand. This study use Mix Method research methodology covering areas in Chumpon, Surat Thani, Nakorn Sri Thammarat, Phattalung, Phuket, Trang, Krabi and Phanga. 1600 samples using accidental sampling comprise of Thai tourists and foreign tourist were interviewed with questionnaires. The results show that tourist sector has become important sector for Southern Thailand economy as there were a large surge in the number of tourists in the South of Thailand. Gross Regional Product in hotels and restaurants in Southern Thailand increases from 4 per cent in 2011 to 12 per cent in 2016. Tourism revenues in 2016 reaches 692,443 million bath increased by 16.95 per Cent from previous year. Tourists visiting Thailand in 2016 reaches 47.5 million tourists increased by 3.5 per cent from previous year. Travel safety, unrest in southern Thailand, natural disaster were three main concerns affecting demand for tourism in the South of Thailand. Tourist expenditure per head in Aao-Thai is 1,856.67 bath per head per day. Tourist travelling by themselves expenditure per head is 1,648.35 bath per head per day. Tourist travelling with package tour expenditure per head is 9,822.34 bath per head per day. Tourist expenditure per head in Andaman is 1,856.67 bath per head per day. Tourist travelling by themselves expenditure per head is 4,439.27 bath per head per day. Tourist travelling with package tour expenditure per head is 10,132.79 bath per head per day. Overall, tourist expenditure per head and willingness to pay of tourist in Andaman-Side were higher than Gulf of Thailand. According to tourist willingness to pay, an Coveralt improvement in every aspects of tourism products would help generate additional income approximately 1,467.89 million bath for Aoa-Thai and 937.64 million for Andaman. Last but not least, the study suggests several guidelines to increase tourist expenditure in Southern Thailand such as (1)uperading price level of tourism products (2) souvenir development and value added (3) expanding high spending tourist market (4) increasing number of overnight stays (5) sustainable development of tourist attractions and (5) human resource development in tourism.
Abstract(Thai): ภาคเศรษฐกิจการท่องเที่ยวมีความสำคัญต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยเป็นอย่างมากในช่วงหลายปีที่ผ่านมา การท่องเที่ยวกลับกลายเป็นภาคเศรษฐกิจที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ( tourist- led growth) ของประเทศ รวมถึงภาคใต้ซึ่งภาคการท่องเที่ยวเป็นภาคเศรษฐกิจหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคสื่อนเศรษฐกิจของภาคใต้เป็นอย่างมากเนื่องจากภาคใต้เป็นภาคที่มีศักยภาพด้านการท่องเที่ยวสูง แผน งานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการเพื่อศึกษาสถานการณ์การท่องเที่ยวและปัจจัยที่มีผลกระทบต้านอุปสงค์ของนักท่องเที่ยวในภาคใต้ วิเคราะห์เปรียบเทียบสถานการณ์การท่องเที่ยวระหว่างภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยและฝั่งอันดามัน และหาแนวทางในการเพิ่มคำใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยวในภาคใต้ การวิจัยนี้ดำเนินการวิจัยด้วยระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม (Mixed Method) โดยการใช้การวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ พื้นที่การศึกษาในครั้งนี้ครอบคลุมจังหวัตราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง ภูเก็ต กระบี่ พังงาและตรัง โดยการสุ่มตัวอย่างจำนวน 1,624 คน แยกเป็นนักท่องเที่ยวชาวไทยจำนวน 1,080 คน นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ จำนวน 544 คน ด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (accidental sampling) ผลการศึกษาสถานการณ์การท่องเที่ยวในภาคใต้ ภาคการท่องเที่ยวมีความสำคัญกับเศรษฐกิจภาคใต้ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ผลิตภัณฑ์มวลรวมสาขาโรงแรมและภัตตาคารของภาคใต้เพิ่มจากร้อยละ 4 ในปี พ.ศ. 2554 เป็นร้อยละ 12 ในปี พ.ศ. 2558 ในปี พ.ศ. 2559 มีรายได้จากการท่องเที่ยว 692,443 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.95 จากปีก่อนหน้า โดยมีจำนวนนักท่องเที่ยว 47.5 ล้านน ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5 จากปีก่อนหน้า ปัญหาเรื่องความปลอดภัย ความไม่สงบในพื้นที่ภาคใต้ และภัยพิบัติธรรมชาติ เป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่ออุปสงค์ของนักท่องเที่ยวในภาคใต้ ในส่วนของค่าใช้จ่ายต่อหัวและความเต็มใจจ่ายของนักท่องเที่ยวในภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยและฝั่งอันดามันมีความแตกต่างกัน นักท่องเที่ยวฝั่งอ่าวไทยมีค่ใช้จ่ายต่อหัว 1,856.67 บาท ต่อคนต่อวัน นักท่องเที่ยวฝั่งอ่าวไทยที่เดินทางมาเที่ยวด้วยตัวเองมีค่าใช้จ่ายต่อหัว 1,648.35 บาทต่อคนต่อวัน นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวกับบริษัทนำเที่ยว 9,822.34 บาทต่อคนต่อวัน นักท่องเที่ยวฝั่งอันตามันมีค่าใช้จ่ายต่อหัว 5,105.45 บาทต่อคนต่อวัน นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเที่ยวด้วยตัวเองมีค่าใช้จ่ายต่อหัว 4,439.27 บาทต่อคนต่อวัน นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเที่ยวกับบริษัทนำเที่ยวมีค่าใช้จ่ายต่อหัว 10,132.79 บาทต่อคนต่อวัน โดยในภาพรวมนักท่องเที่ยวฝั่งอันดามันมีค่าใช้จ่ายต่อหัวและความเต็มใจจ่ยสูงกว่า นักท่องเที่ยวฝั่งอำวไทย ผลการศึกษาความเต็มใจจ่ายในกรณีหากมีการปรับปรุงทุกอย่างให้ตีขึ้นการดำเนินการปรับปรุงการท่องเที่ยวให้ดีขึ้นอย่างมีคุณภาพจะสามารถสร้างรายได้เพิ่มขึ้น 1,467.89 ล้านบาทต่อปีในฝั่งอ่าวไทย และ 937.64 ล้านบำทต่อปีในฝั่งอันดามัน แนวทางการเพิ่ม ค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยวในภาคใต้ควรให้ความสำคัญในกรยกระดับราคาสินค้าท่องเที่ยว การพัฒนาและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก การขยายจำนวนวันพัก การปรับปรุง ดูแล รักษาแหล่งท่องเที่ยวให้มีความยั่งยืน การเน้นการทำตลาดนักท่องเที่ยวที่มี(ศักยภาพในการใช้จ่ายสูง การพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวและการพัฒนาบุคลากรในภาคการท่องเที่ยว
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17642
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/308234
Appears in Collections:460 Research
926 Research
932 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.