กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17637
ชื่อเรื่อง: โครงการเซนเซอร์เชิงแสงความไววิเคราะห์สูง อาศัยหลักการขยายสัญญาณด้วยเทคนิค catalyzed hairpin assembly สําหรับการตรวจวัดไมโครอาร์เอ็นเอ
ชื่อเรื่องอื่นๆ: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการ เซนเซอร์เชิงแสงความไววิเคราะห์สูง อาศัยหลักการขยายสัญญาณด้วยเทคนิค catalyzed hairpin assembly สําหรับการตรวจวัดไมโครอาร์เอ็นเอ
A highly sensitive optical sensor equipped with a non-enzymatic catalyzed hairpin assembly technique for microRNA detection
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ชิตนนท์ บูรณชัย
ปณต ถาวรังกูร
เพริศพิชญ์ คณาธารณา
Faculty of Science (Physics)
คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาฟิสิกส์
Faculty of Science (Chemistry)
คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาเคมี
คำสำคัญ: โอลิโกนิวคลิโอไทด์;ไบโอเซนเซอร์
วันที่เผยแพร่: 2562
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บทคัดย่อ: A DNA based biosensor was developed for short oligonucleotide detection, such as microRNA, a biomarker for some types of cancer. The short oligonucleotides are present at trace level in biological samples, and with the limit of 25 nucleotides in length, the amount cannot be amplified with the polymerase chain reaction (PCR) technique. Therefore this project utilized the doubly catalyzed hairpin assembly (CHA) technique to amplify short oligonucleotides in conjunction with the Förster resonance energy transfer (FRET) technique. From the results, it was found that the limit of detection (LOD) of the sensor is at 3.23 nM with only 30 minute incubation time. Despite the fact that the current LOD is still too high to be used straightforwardly to detect microRNA in real samples, it is still usable when combined with a proper sample pre-concentration technique. Furthermore we are improving the sensor’s performance by incorporating novel nanomaterials and expect that the LOD will soon be low enough to be used directly.
Abstract(Thai): ไบโอเซนเซอร์จากดีเอ็นเอได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อตรวจวัดโอลิโกนิวคลีโอไทด์สายสั้น เช่น ไมโครอาร์เอ็นเอ ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของโรคมะเร็งบางชนิด โอลิโกนิวคลีโอไทด์สายสั้นในตัวอย่างทางชีวภาพมีปริมาณน้อยและด้วยความยาวที่จํากัดเพียงไม่เกิน 25 นิวคลีโอไทด์ทําให้ไม่สามารถเพิ่มปริมาณเพื่อการตรวจวัดด้วยเทคนิค polymerase chain reaction (PCR) ดังนั้นโครงงานนี้จึงอาศัยเทคนิค Catalyzed hairpin assembly (CHA) แบบสองวงจรในการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอสายคู่ที่ตรวจวัดได้ง่ายร่วมกับเทคนิค Förster resonance energy transfer (FRET) จากการทดลองพบว่าเซนเซอร์มีขีดจํากัดการตรวจวัดอยู่ที่ 3.23 nM และใช้เวลาในการตรวจวัดเพียง 30 นาที ถึงแม้ว่าค่าขีดจํากัดของการตรวจวัดยังมีค่าสูงและไม่สามารถใช้วัดปริมาณไมโครอาร์เอ็นเอในตัวอย่างเลือดโดยตรงได้ แต่ยังสามารถใช้งานได้เมื่อใช้ร่วมกับวิธีการเตรียมตัวอย่างเพื่อเพิ่มความเข้มข้นของไมโครอาร์เอ็นเอก่อนการตรวจวัด ทั้งนี้ผู้วิจัยกําลังพัฒนาประสิทธิภาพของเซนเซอร์ให้ดียิ่งขึ้นด้วยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีวัสดุนาโนชนิดใหม่ และคาดว่าจะสามารถใช้เซนเซอร์วัดปริมาณไมโครอาร์เอ็นเอได้โดยตรงในอนาคตอันใกล้
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17637
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/305223
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:324 Research
332 Research

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น