Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17214
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สิริวิท อิสโร | - |
dc.contributor.author | ปุณณวัชร์ วิเทียมญลักษณ์ | - |
dc.date.accessioned | 2021-08-04T03:42:22Z | - |
dc.date.available | 2021-08-04T03:42:22Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17214 | - |
dc.description | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | This dissertation summarizes the motivations of the students of the Faculty of Engineering, Prince of Songkla University to be activist including the process to encourage students to become the activist in order to develop their potential to be the expected graduate. The qualitative research method is applied with the seventeen student activists and two student affairs officers of the Faculty of Engineering as key informants. The Purposive Sampling is applied for in-depth interview as research tool. The finding is their motivations have the correlation with the Modern Theories of Motivation; Intrinsic Motivation and Extrinsic Motivation. The Intrinsic Motivations are Personal Interest and Sense of Achievement, Challenge and Self-Development, and Social Recognition. The Extrinsic Motivations are Policies of the Faculty of Engineering to support their development, Influences of friends and Demands of Entrepreneurs. In addition, the interesting findings are also Domicile has the correlation with their motivation. (1) The students without residence in Hat Yai District have more desire of socialization with new groups of friends with mutual interests and attractions, (2) The appropriate style of activities, (3) Cordiality, (4) Support from senior activists which encourage them to convey the same experiences and impression to the next generation. And (5) The first impression towards the activities they involve. The recommendations are provided for the development of student activities; More flexibility on condition of cocurricular activities to allow students to involve any activities based on their situation and readiness. Not limit by their academic year, Advisory Committee on Student Affairs should be established as advisor to support the student activities and more welfare allocation for the activists including sufficient basic facilities in order to draw their inspiration to be the student activist as expected | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | นักกิจกรรมนักศึกษา | en_US |
dc.subject | แรงจูงใจ | en_US |
dc.subject | แนวทางการพัฒนาแรงจูงใจนักศึกษา | en_US |
dc.title | แนวทางการพัฒนาแรงจูงใจให้นักศึกษาเป็นนักกิจกรรมนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.title.alternative | Guideline for Student Motivation Development to be Activists A Case Study of the Faculty of Engineering, Prince of Songkla University | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Public Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการเป็นนักกิจกรรมนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตลอดจนการศึกษาแนวทางส่งเสริมให้นักศึกษาก้าวขึ้นมาเป็นนักกิจกรรมนักศึกษา เพื่อพัฒนาศักยภาพให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ โดยใช้ระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ และผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Informants) ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่เป็นนักกิจกรรมนักศึกษา จำนวน 17 คน และกลุ่มเจ้าหน้าที่กิจการนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน 2 คน โดยการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกรายบุคคล (In-depth interview) เป็นเครื่องมือในการวิจัย ผลการศึกษาพบว่า แรงจูงใจที่ทำให้นักศึกษาเป็นนักกิจกรรมนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สอดคล้องกับทฤษฎีด้านแรงจูงใจสมัยใหม่ โดยแบ่งออกเป็นแรงจูงใจภายใน ได้แก่ ความชอบส่วนบุคคลและการความต้องการพื้นที่ในการแสดงออก ความท้าทายในการพัฒนาตนเอง ความต้องการเป็นที่ยอมรับในสังคม และแรงจูงใจภายนอก ได้แก่ นโยบายการพัฒนานักศึกษาและการสนับสนุนจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ อิทธิพลของกลุ่มเพื่อน และความต้องการของผู้ประกอบการ ทั้งนี้ ยังพบข้อค้นพบเพิ่มเติมที่น่าสนใจในกรณีนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ กล่าวคือ (1) ภูมิลำเนามีผลต่อแรงจูงใจให้นักศึกษาเป็นนักกิจกรรมนักศึกษา โดยนักกิจกรรมนักศึกษาส่วนใหญ่ ไม่มีภูมิลำเนาอยู่ในพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จึงมีความต้องการที่จะเข้าสังคม และค้นหากลุ่มเพื่อนใหม่ๆ ที่มีความชอบ และความสนใจคล้ายคลึงกัน (2) รูปแบบกิจกรรมที่เหมาะสม (3) การได้รับการดูแลจากรุ่นพี่ผู้จัดกิจกรรม (4) บรรยากาศภายในกิจกรรมที่มีความอบอุ่นเป็นกันเอง และ (5) ความประทับใจครั้งแรกที่ได้เข้าร่วมกิจกรรม เป็นแรงจูงใจที่ส่งเสริมให้นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ต้องการเป็นนักกิจกรรม เพื่อส่งมอบบรรยากาศและความประทับใจเหล่านี้ ไปสู่นักศึกษารุ่นใหม่ในอนาคต สำหรับข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนางานกิจกรรมนักศึกษา คือ ควรผ่อนปรนหลักเกณฑ์กิจกรรมเสริมหลักสูตรแบบขั้นบันได ให้นักศึกษาสามารถเข้าร่วมกิจกรรมข้ามชั้นปีได้ตามความเหตุปัจจัย และความพร้อมของนักศึกษา นอกจากนี้ ควรกำหนดคณะกรรมการที่ปรึกษาฝ่ายกิจการนักศึกษา ซึ่งเป็นผู้ดูแลงานด้านกิจกรรมเป็นอาจารย์ที่ปรึกษากลุ่มกิจกรรม และเพิ่มการจัดสรรสวัสดิการสำหรับนักกิจกรรม รวมถึงสิ่งอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานให้เพียงพอ เพื่อนำไปสู่การสร้างแรงบันดาลใจให้แก่นักศึกษาสู่การเป็นนักกิจกรรมต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | 465 Minor Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Article_5810521525.docx | 58.07 kB | Microsoft Word XML | View/Open | |
5810521525.pdf | 2.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License