Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17073
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิพวรรณ จันทมณีโชติ-
dc.contributor.authorสุณัฐฐา เส็นยีหีม-
dc.date.accessioned2021-05-18T06:59:33Z-
dc.date.available2021-05-18T06:59:33Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17073-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกแหล่งขายน้ำยางสดของเกษตรกรแก่พ่อค้าคนกลางระดับหมู่บ้านใน ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeFactors affecting the decision making on fresh latex trading sources of the rubber farmers towards the village middlemen in Sumnakteaw sub-district, Sadao district, Songkhla provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ (1) เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคลและเศรษฐกิจของเกษตรกร ชาวสวนยางใน ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา (2) เพื่อศึกษารูปแบบในการดำเนินการกับ ผลผลิตและการจำหน่ายน้ำยางสดของเกษตรกรชาวสวนยางในพื้นที่ศึกษา (3) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสม ทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกแหล่งขายน้ำยางสดของเกษตรกรแก่พ่อค้าคนกลางระดับ หมู่บ้าน (4) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการขายน้ำยางสดของเกษตรกรชาวสวนยาง โดยใช้กลุ่ม ตัวอย่างที่เป็นเกษตรกรชาวสวนยางพาราที่ขายน้ำยางสดให้แก่พ่อค้าคนกลางระดับหมู่บ้านในตำบลสำนัก แต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จำนวน 400 ราย และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูล ซึ่งนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) โดยใช้สถิติอย่างง่าย และวิเคราะห์ หาความสัมพันธ์โดยใช้วิธีไคสแควร์ (Chi-Square) และวิธีการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติก (Logistic Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุอยู่ในช่วง 20-40 ปี มีการศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษา โดย เกษตรกรส่วนใหญ่มีจา นวนแรงงานที่ใช้ในการทา สวนยางน้อยกว่า 3 คน มีรายได้จากการทา สวนยางเฉลี่ย ต่อเดือนน้อยกว่า 10,000 บาท มีปริมาณน้า ยางที่กรีดได้เฉลี่ยต่อวันอยู่ที่ 50-100 กิโลกรัมน้า ยางสด ได้รับ เปอร์เซ็นต์เนื้อยางที่ 31 – 35 เปอร์เซ็นต์ มีการแบ่งผลประโยชน์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างในอัตราส่วน 60:40 และเกษตรกรส่วนใหญ่เลือกจา หน่ายน้า ยางสดเพราะแหล่งรับซื้อยางอยู่ใกล้สวน โดยพฤติกรรมการ ตัดสินใจขายน้า ยางสดเป็นประจา ทุกวันที่ทา การกรีดในด้านระยะเวลาและการจัดส่ง มีความสัมพันธ์กับ ระดับการศึกษา จา นวนแรงงานที่ใช้ในการทา สวนยาง รายได้จากการทา สวนยาง ปริมาณน้า ยางที่กรีดได้ เฉลี่ยต่อวัน เปอร์เซ็นต์น้า ยางที่เกษตรกรได้รับ อัตราส่วนแบ่งผลประโยชน์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง และ เหตุผลในการเลือกขายน้า ยางสด และยังพบว่า พฤติกรรมการตัดสินใจขายน้า ยางสดกับพ่อค้าคนกลางใน ด้านการเลือกผู้จัดจา หน่าย และพฤติกรรมการตัดสินใจขายน้า ยางสดส่วนใหญ่ให้กับพ่อค้าคนกลางในด้าน การเลือกปริมาณการซื้อ มีความสัมพันธ์กับระดับการศึกษา รายได้จากการทา สวนยาง และปริมาณน้า ยางที่ กรีดได้เฉลี่ยต่อวัน ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกแหล่งขายน้า ยางสดของเกษตรกรที่ อยู่ในระดับมาก คือ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ และปัจจัยด้านช่องทางการจัดจา หน่าย โดยที่ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์มี อิทธิพลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกขายน้า ยางสดกับพ่อค้าคนกลางในด้านการเลือกผู้จัดจา หน่ายลดลง ร้อยละ 60 ส่วนปัจจัยด้านช่องทางการจัดจา หน่าย มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการการตัดสินใจเลือกขายน้ายางสดกับพ่อค้าคนกลาง ในด้านการเลือกผู้จัดจา หน่ายเพิ่มขึ้นประมาณ 2 เท่า และมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการ ตัดสินใจเลือกขายน้า ยางสดเป็นประจา ทุกวันที่ทา การกรีดในด้านระยะเวลาและการจัดส่ง เพิ่มขึ้นประมาณ 2.5 เท่า ปัญหาที่พบมากที่สุดจากการขายน้า ยางสด คือ ขั้นตอนการวัดเปอร์เซ็นต์ยางแห้ง และความถูกต้อง แม่นยา ในการตีเปอร์เซ็นต์ยาง ตามลา ดับ เนื่องจากขั้นตอนการตีเปอร์เซ็นต์ยางจะกระทา โดยผู้รับซื้อเพียง ฝ่ายเดียวen_US
Appears in Collections:460 Minor Thesis



This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons