Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15738
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | กรมควบคุมมลพิษ | - |
dc.date.accessioned | 2015-12-22T08:00:47Z | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-17T11:44:50Z | - |
dc.date.available | 2015-12-22T08:00:47Z | - |
dc.date.available | 2021-05-17T11:44:50Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15738 | - |
dc.description.abstract | ปัจจุบันรัฐบาลได้กำหนดให้ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาเป็นพื้นที่เร่งรัดพัฒนาตามยุทธศาสตร์พัฒนาเศรษฐกิจภาคใต้ ทำให้อุตสาหกรรมยางแผ่นรมควัน อุตสาหกรรมปลาป่น อุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่งแข็ง อุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง ฯลฯ เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งรวมทั้งอุตสาหกรรมในครัวเรือน ก่อให้เกิดปัญหามลพิษจากน้ำเสียที่เร่งระบาย และส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน สิ่งมีชีวิต และคุณภาพโดยรวมทางนิเวศน์วิทยาในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ดังนั้นกรมควบคุมมลพิษจึงได้มอบหมายให้สถาบันสิ่งแวดล้อมไทยดำเนินการโครงการนี้ โดยเสริมสร้างศักยภาพการจัดการมลพิษที่ยั่งยืน และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสะอาดในการดำเนินการ การดำเนินงานจะเป็นความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3 ส่วน คือ (1) ภาครัฐ (2) ภาคอุตสาหกรรม ตลอดจนกลุ่มอุตสาหกรรมในครัวเรือน และ (3) ภาคประชาชน ในฐานะผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงจากความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อม แนวทางนี้จะสามารถช่วยฟื้นฟูคุณภาพน้ำในพื้นที่ลุ่มทะเลสาบสงขลาได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนต่อไป | th_TH |
dc.language.iso | th_TH | th_TH |
dc.publisher | กรมควบคุมมลพิษ | th_TH |
dc.subject | การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม | th_TH |
dc.subject | คุณภาพสิ่งแวดล้อม | th_TH |
dc.title | โครงการเสริมสร้างศักยภาพการจัดการมลพิษจากแหล่งกำเนิดประเภทอุตสาหกรรมในพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา | th_TH |
dc.type | Other | th_TH |
Appears in Collections: | 993 ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา |
Files in This Item:
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.