Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14264
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรพจน์ ปานรอด-
dc.contributor.authorภัทรชัย หวังลดาภิรมย์-
dc.date.accessioned2021-05-17T09:28:31Z-
dc.date.available2021-05-17T09:28:31Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14264-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectจักรยานen_US
dc.subjectภาพลักษณ์ตราสินค้าen_US
dc.subjectความตั้งใจซื้อen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ตราสินค้าที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อจักรยานในอำเภอหาดใหญ่en_US
dc.title.alternativeThe Relationship between Brand Imageto Effect Intetion to Purchase Bicycle in Hatyai Cityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ตราสินค้ามีผลต่อความตั้งใจซื้อจักรยานในอาเภอหาดใหญ่ โดยประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ที่อยู่อาศัยในอาเภอหาดใหญ่ซึ่งเป็นลูกค้าร้านจักรยานที่มีความตั้งใจที่จะซื้อจักรยาน และผู้ที่มีแนวโน้มว่าจะซื้อจักรยานในอาเภอหาดใหญ่ จานวน 385 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแจกแจงแบบที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) และวิเคราะห์สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน งานวิจัยนี้กาหนดนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 0.01และทดสอบเพิ่มเติมเพื่อหาความแตกต่างรายคู่ (LSD) ผลการศึกษาพบว่า ลูกค้าร้านจักรยานส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31-40 ปีมีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ระหว่าง 20,000–40,000 บาท มีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน สาหรับปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนมีผลต่อความตั้งใจซื้อจักรยานในอาเภอหาดใหญ่ที่แตกต่างกัน และจากงานวิจัยพบว่า ภาพลักษณ์ตราสินค้าของจักรยานมีความสัมพันธ์ต่อความตั้งใจซื้อจักรยานในอาเภอหาดใหญ่ งานวิจัยนี้เสนอแนะให้ผู้ประกอบกิจการธุรกิจจักรยาน ควรที่จะมีการปรับกลยุทธ์ต่างๆให้เหมาะสมกับภาพลักษณ์ ในด้านคุณสมบัติของจักรยานมากที่สุด โดยผู้บริโภครับรู้ถึงภาพลักษณ์ของผู้ใช้จักรยานว่ามีประสิทธิภาพในการผลิต มีคุณภาพของอุปกรณ์ที่ใช้ มีความเป็นที่รู้จักของร้านค้าชั้นนา มีรูปทรงที่สวยงาม มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีใหม่ และมีความเป็นเอกลักษณ์ของรูปทรง โดยทางผู้ประกอบการจึงควรเน้นการตลาดโดยใช้สื่อโฆษณา/การประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับจักรยานและนาเสนอรูปลักษณ์ของจักรยานให้มากยิ่งขึ้น เพื่อใช้เป็นช่องทางในการกระตุ้นความต้องการซื้อให้เพิ่มมากขึ้นen_US
Appears in Collections:460 Minor Thesis



Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.