Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14137
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมแก้ว รุ่งเลิศเกรียงไกร-
dc.contributor.authorปาริชาต จันทสุรัส-
dc.date.accessioned2021-05-17T09:06:25Z-
dc.date.available2021-05-17T09:06:25Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14137-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectทักษะทางวิชาชีพen_US
dc.subjectคุณภาพการตรวจสอบภายในen_US
dc.subjectความพึงพอใจen_US
dc.titleทักษะทางวิชาชีพในการปฏิบัติงานและคุณภาพการตรวจสอบภายใน: มุมมองของผู้รับบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.title.alternativeProfessional Skills and Internal Audit Quality: Perspectives of Customers at Prince of Songkla Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อทักษะทางวิชาชีพที่ ผู้ตรวจสอบภายในควรมีในการปฏิบัติงาน รวมถึงศึกษาระดับความคาดหวัง ระดับการรับรู้และความพึงพอใจในคุณภาพการตรวจสอบภายในของผู้รับบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี และผู้ปฏิบัติงานด้านการพัสดุ จานวน 170 ราย คิดเป็นร้อยละ 58.62 จากจานวนประชากร 290 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามมาตรส่วนประเมินค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างโดยใช้ค่าสถิติ t-test และ F-test ผลการศึกษาพบว่า 1. ผู้รับบริการมีความคิดเห็นต่อทักษะทางวิชาชีพที่ผู้ตรวจสอบภายในควรมีในการปฏิบัติงาน โดยรวมและเป็นรายด้านอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ทักษะทางวิชาการเชิงปฏิบัติและหน้าที่งาน ทักษะทางคุณลักษณะเฉพาะบุคคล ทักษะทางปัญญา ทักษะทางปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและการสื่อสาร และทักษะการบริหารองค์กรและการจัดการธุรกิจ ตามลาดับ โดยผู้รับบริการที่มีตาแหน่งงานปัจจุบันและใช้บริการการตรวจสอบภายในมาแล้วแตกต่างกันให้ระดับความคิดเห็นต่อทักษะทางวิชาชีพที่ผู้ตรวจสอบภายในควรมีในการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ 2. ระดับความคาดหวังในคุณภาพการตรวจสอบภายในของผู้รับบริการโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านความชัดเจนและด้านความถูกต้อง มีความคาดหวังอยู่ในระดับมากที่สุด และด้านความกระชับ ด้านความทันต่อเวลา ด้านความจูงใจ และด้านความสร้างสรรค์ มีความคาดหวังอยู่ในระดับมาก โดยผู้รับบริการที่มีประสบการณ์การทางานในตาแหน่งปัจจุบันและใช้บริการการตรวจสอบภายในมาแล้วแตกต่างกัน ประเมินระดับความคาดหวังในคุณภาพการตรวจสอบภายในแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติen_US
Appears in Collections:460 Minor Thesis



Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.