Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19084
Title: การขับเคลื่อนของชุมชนบ้านถ้ำตลอด ในการจัดการพื้นที่ป่าชุมชนอ่าวอ้ายยอ ตำบลน้ำตก อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
Other Titles: Factors Affecting Forest Area Management in the Bantumtalot Community, Aow Aye Yor Community Forest Area Management, Namtok Sub-District, Thungsong District, Nakhon Si Thammarat Province
Authors: อุทิศ สังขรัตน์
นวพร สินสวัสดิ์
Faculty of Liberal Arts (Educational Foundation)
คณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาสารัตถศึกษา
Keywords: ป่าชุมชน การมีส่วนร่วมของประชาชน;ป่าชุมชน การจัดการ
Issue Date: 2018
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: This research aimed to study the factors affecting and the effects of forest area management in Bantumtalot community, Aow Aye Yor forest area. This study used qualitative research methodology to collect data from relevant research papers and field data. Participant observation and non-participant observation as well as in-depth interviews were used and data were classified by conclusive issues. The results of this study indicated that the factors affecting forest management in the Bantumtalot community in the Aow Aye Yor forest area were as follows: 1. Participation in Aow Aye Yor forest area management of Bantumtalot community. 2. Promotion of the potential of the Bantumtalot community in the Aow Aye Yor forest area management area. 3. Raising awareness and consciousness in the area. 4. The development of participation in the community. 5. The establishment of a process to develop the community. 6. Disseminating information to the public in the area, and 7. Creating a network group in the community. The effects of forest management in the area were as follows: 1. The creation of a body of knowledge. 2. The creation of a master plan, and 3. The creation of a public network group. The affects of all these activities could result in overall success of the community.
Abstract(Thai): การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการขับเคลื่อนของชุมชนบ้านถ้าตลอด ในการจัดการพื้นที่ปุาอ่าวอ้ายยอ และศึกษาผลของการจัดการพื้นที่ปุาอ่าวอ้ายยอของชุมชนบ้านถ้า ตลอด ใช้ระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและข้อมูลจาก ภาคสนาม ใช้การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม โดยใช้การสัมภาษณ์แบบ เจาะลึก น้าข้อมูลมาจ้าแนกหมวดหมู่ตามประเด็นตีความสร้างข้อสรุป ผลการศึกษาพบว่า การขับเคลื่อนของชุมชนบ้านถ้าตลอด ในการจัดการพื้นที่ปุา อ่าวอ้ายยอ มีดังนี้ 1. การมีส่วนร่วมของชาวบ้านในการจัดการพื้นที่ปุาอ่าวอ้ายยอ ของชุมชนบ้านถ้า ตลอด 2. การส่งเสริมศักยภาพของชุมชนบ้านถ้าตลอด ในการจัดการพื้นที่ปุาอ่าวอ้ายยอ 3. การสร้าง ความตระหนัก และจิตส้านึก ในการจัดการพื้นที่ปุาอ่าวอ้ายยอ ของชุมชนบ้านถ้าตลอด 4. การจัดให้ มีแนวทางการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมของชาวบ้านชุมชนบ้านถ้าตลอด ในการจัดการพื้นที่ปุาอ่าวอ้าย ยอ 5. การสร้างกระบวนการในการจัดการพื้นที่ปุาอ่าวอ้ายยอ ของชุมชนบ้านถ้าตลอด 6. การ ประชาสัมพันธ์ให้ข้อมูลข่าวสาร ในการจัดการพื้นที่ปุาอ่าวอ้ายยอ ของชุมชนบ้านถ้าตลอด และ 7. การสร้างกลุ่มเครือข่ายของชุมชนบ้านถ้าตลลอด ในการจัดการพื้นที่ปุาชุมชนอ่าวอ้ายยอ ส่วนผลของ การจัดการพื้นที่ปุาอ่าวอ้ายยอของชุมชนบ้านถ้าตลอด มีดังนี้ 1. ท้าให้เกิดองค์ความรู้ 2. ท้าให้เกิด แผนแม่บท 3. ท้าให้เกิดคนและเครือข่าย ซึ่งการขับเคลื่อนเหล่านี้ล้วนส่งผลทำให้ชุมชนประสบ ความสำเร็จ
Description: ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนามนุษย์และสังคม), 2561
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19084
Appears in Collections:895 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
433001.pdf2.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons