Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17338
Title: | การพัฒนาครูผู้สอนภาษาอาหรับโดยใช้การบริหารชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ด้วยรูปแบบ 5T กรณีศึกษาโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ จังหวัดยะลา |
Other Titles: | Development of Arabic Teachers by Professional Learning Community (PLC) Using 5T Model : A Case Study of Thamavitya Foundation School, Yala Province |
Authors: | ซัมซู สาอุ ฮำมาดี เหมและ Faculty of Islamic Sciences คณะวิทยาการอิสลาม |
Keywords: | PLC;Arabic's teacher;5T;ครูภาษาอาหรับ การประเมิน |
Issue Date: | 2021 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
Abstract: | This Research and Development purposed to 1) To develop an instructional model to administrative by Professional Learning Communities Using 5T model to enhance Potential Development of Arabic Teachers case study of Thamavitya Mulniti School, Yala Province and 2) To study results of using the developed administrative by Professional Learning Communities Using 5T model The sample used in this research was Arabic teachers number 6. The tools used in the research were 1. Study documentary research 2. Innovation develop and 3. In - depth interview (group discussion) The sample group was 6 Arabic language teachers selected by specific. |
Abstract(Thai): | การวิจัยเชิงพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) แบบมีส่วนร่วมด้วยรูปแบบกระบวนการขับเคลื่อน 5T สำหรับครูโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ จังหวัดยะลา และ 2) เพื่อศึกษาผลการใช้การบริหารชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ครูสอนภาษาอาหรับ จำนวน 6 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1. ศึกษาวิจัยเอกสาร (Documentary Research) 2. พัฒนานวัตกรรม (Innovation Develop) และ 3. การสัมภาษณ์เชิงลึก (สนทนากลุ่ม) กลุ่มตัวอย่างได้แก่ครูสอนภาษาอาหรับ จำนวน 6 คน คัดเลือกโดยการเจาะจง ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ที่สอดคล้องต่อบริบทโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ มีทั้งหมด 4 ด้าน คือ 1. การสร้างเป้าหมายร่วมกันของบุคลากร 2. พื้นที่ในการเสริมโอกาสในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง 3. การสร้างวัฒนธรรม การทำงานเป็นทีม และ 4. โครงสร้างการบริหารที่เอื้อต่อหลักการของชุมชน และ 2) แนวทาง การบริหารที่ใช้ในการขับเคลื่อนเพื่อสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพประกอบด้วยกระบวนการ 5T คือ 1. Tahlil (تحليل) 2. Tasmim (تصميم) 3. Tatwir (تطوير) 4. Tanfiz (تنفيذ) 5. Taqyeem (تقييم). |
Description: | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารและการจัดการการศึกษาอิสลาม), 2564 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17338 |
Appears in Collections: | 761 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6120420111 | Fulltext thesis | 1.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License