Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19637
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธนิต เฉลิมยานนท์-
dc.contributor.authorธนันท์ ชุบอุปการ-
dc.date.accessioned2025-01-07T08:46:26Z-
dc.date.available2025-01-07T08:46:26Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://tnrr.nriis.go.th/#/research/1022326-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19637-
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกen_US
dc.subjectดินถล่มen_US
dc.subjectภาคใต้ของประเทศไทยen_US
dc.subjectClimate Changeen_US
dc.subjectLandslideen_US
dc.subjectSouthern of Thailanden_US
dc.titleผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกต่อการเกิดดินถล่มในภาคใต้ของประเทศไทย (กรณีศึกษา ตำบลเทพราช จังหวัดนครศรีธรรมราช)en_US
dc.title.alternativeEffects of Global Climate Change on Landslides in Southern Thailand (Case study of Tepparach Sub-district, Nakorn Sri Thammarat Province)en_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering Civil Engineering-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา-
dc.description.abstract-thการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศต่อการเกิดดิน ถล่มในตำบลเทพราช อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยพื้นที่นี้เคยเกิดดินถล่มมาแล้วในฤดูร้อนของ เดือนมีนาคม พ.ศ 2554 การดำเนินการวิจัยประกอบด้วยสองส่วนสำคัญ ส่วนแรกคือการนำผลจาก แบบจำลองภูมิอากาศโลกจากแบบจำลอง PRECIS/ECHAM4 ซึ่งมีข้อมูลภาพฉายการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศในอนาคตในรูปของฝนรายวันแล้วทำการปรับแก้โดยวิธี Change Factor ผลที่ได้ถูกนำมา ประเมินช่วงเวลาและรูปแบบของฝนที่มีความเสี่ยงทำให้เกิดดินถล่ม ส่วนที่สองประกอบด้วย การนำ คุณสมบัติทางวิศวกรรมของลาดดินมาวิเคราะห์ปริมาณฝนที่ทำให้เกิดตินถล่มโตยใช้แบบจำลองการไหลซึม ของน้ำใต้ดินและแบบจำลองเสถียรภาพลาตดิน ผลการวิเคราะห์ทั้งสองส่วนถูกนำมาประเมินการเกิดดิน ถล่มในพื้นที่ศึกษา ผลการศึกษาแบบจำลองภาพฉายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคตแสดงให้ เห็นว่า ปริมาณฝนเพิ่มขึ้นจากปีฐาน 3.399, 1.389 และ 27.7% ในช่วงอนาคตอันใกล้ (ปี 2013-2038) อนาคตช่วงกลาง (ปี 2039-2064) และอนาคตอันไกล (ปี 2065-2090) ตามลำดับ ผลการศึกษาการเกิดดิน ถล่มเมื่อปี ค.ศ. 2011 ลาดดินที่ ต.เทพราช อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช ถล่มเนื่องจากมีฝนตกต่อเนื่องกัน 3- 4 วัน แล้วมีปริมาณน้ำฝนสะสม มากกว่า 600 มิลลิเมตร ซึ่งในช่วงปีฐาน 29 ปี มีเหตุการณ์ลาดดินถล่ม 1 ครั้ง หรือกล่าวได้ว่ามีรอบปีการเกิดซ้ำ 29 ปี สำหรับผลการประเมินการเกิดดินถล่มในอนาคตโดยใช้ แบบจำลองการไหลซึมของน้ำใต้ดินและแบบจำลองเสถียรภาพลาดดิน พบว่า การเกิดดินถล่มในอนาคตจะ ถี่ขึ้นกว่าปัจจุบัน โดยจะเกิดลาดดินถล่มใน 3, 5, และ 5 ปี ในช่วงอนาคตอันใกล้ อนาคตช่วงกลาง และ อนาคตอันไกล ตามลำดับ โดยปริมาณฝนสะสมที่ทำให้เกิดดินถล่มมีค่าน้อยกว่า 600 มิลลิเมตร ทั้งนี้ เนื่องจากส่วนใหญ่ดินถล่มเกิดขึ้นในฤดูฝนซึ่งมีฝนตกหลายลูก ฝนลูกที่ตกก่อนทำห้ดินสูญเสียกำลังไปแล้ว จึงทำให้ปริมาณฝนสะสมในลูกหลังๆ ที่ทำให้เกิดดินถล่มมีค่าลดลงen_US
Appears in Collections:220 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.