Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19636
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพีระพงศ์ ทีฆสกุล-
dc.contributor.authorฐานันดร์ศักดิ์ เทพญา-
dc.contributor.authorนันทพันธ์ นภัทรานันทน์-
dc.date.accessioned2025-01-07T08:33:08Z-
dc.date.available2025-01-07T08:33:08Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://tnrr.nriis.go.th/#/research/1018103-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19636-
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectตู้อบen_US
dc.subjectพลังงานแสงอาทิตย์en_US
dc.subjectกักเก็บความร้อนen_US
dc.subjectกล้วยเล็บมือนางen_US
dc.subjectการหมุนเวียนอากาศen_US
dc.titleเครื่องอบแห้งกล้วยเล็บมือนางแบบผสมผสานที่มีระบบหมุนเวียนความร้อนกลับมาใช้ใหม่en_US
dc.title.alternativeA Heat-Recirculating Combined-Energy-Source Banana Dryeren_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering Mechanical Engineering-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล-
dc.description.abstract-thกล้วยเป็นพืชเศรษฐิจที่ส าคัญของประเทศไทย โดยผลิตภัณฑ์กล้วยเล็บมือนางอบแห้งถือเป็น ผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้รับความนิยมสูงภายในประเทศ อีกทั้งปริมาณการบริโภคกล้วยอบแห้งมีแนวโน้มที่ สูงขึ้นทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ สำหรับการส่งออกนั้นกล้วยอบแห้งมีแนวโน้นที่จะสามารถท า ตลาดการขายที่ดีได้ในต่างประเทศ ซึ่งผลิตภัณฑ์อาหารส่งออกนั้นต้องมีการรักษาคุณภาพให้มีอยู่ในเกณฑ์ มาตรฐาน อย่างไรก็ตามวิธีการอบแห้งกล้วยของผู้ประกอบการภายในประเทศไทยส่วนใหญ่จะใช้วิธีการ อบแห้งโดยใช้ความร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์จึงมักมีสิ่งแปลกปลอมเจือปนกับผลิตภัณฑ์อาหาร ดังนั้น โครงการนี้จึงมุ่งเน้นพัฒนาระบบอบกล้วยประหยัดพลังงานด้วยการหมุนเวียนพลังงานทดแทน โดยห้อง อบแห้งกล้วยด้วยพลังงานความร้อนจากการเผาไหม้ก๊าซหุงต้ม (LPG) ระดับการทดลองจึงได้รับการ ออกแบบ สร้าง และศึกษาทั้งในกรณีห้องเปล่าและห้องบรรจุกล้วย สำหรับการทดลองการอบแห้งกล้วยจะ ดำเนินการทดลองที่อุณหภูมิ 50, 60, 70, 80, และ 90 องศาเซลเซียส ลักษณะสีเปลือกของกล้วยก่อนการ อบแห้งต้องมีสีเหลืองปนเขียว โดยท าการศึกษาตัวแปรต่างๆ ได้แก่ อุณหภูมิ ระยะเวลา ความชื้น กลศาสตร์ การอบแห้ง และคุณภาพ (สี และเนื้อผิว) จากการทดลองพบว่า ความชื้นเริ่มต้นของกล้วยมีค่า 71-76 เปอร์เซ็นต์ฐานเปียก และความชื้นสุดท้ายมีค่า 16-22 เปอร์เซ็นต์ฐานเปียก ซึ่งอุณหภูมิเป็นตัวแปรที่สำคัญ ที่ส่งผลต่อลักษณะทางการกายของผลิตภัณฑ์ได้แก่สีและเนื้อผิวของกล้วย ดังนั้น สำหรับวิธีการอบแห้ง กล้วยด้วยพลังงานความร้อนจากก๊าซหุงต้มควรดำเนินการที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียสเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ ที่มีสี เนื้อผิว และรสชาติที่ดีen_US
Appears in Collections:215 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.