Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19604
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ | - |
dc.contributor.author | พลช อินทรเศรณี | - |
dc.date.accessioned | 2024-11-06T07:41:24Z | - |
dc.date.available | 2024-11-06T07:41:24Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19604 | - |
dc.description | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต(รัฐประศาสนศาสตร์), 2563 | en_US |
dc.description.abstract | The purposes of this study were to investigate the level of the use of social welfare cards of people in the Trang Province, Thailand, the card holders’ quality of life, the factors affecting the use of social welfare cards, the factors affecting their quality of life, and the relationship between the use of the welfare cards and the holders’ quality of life. The samples, selected through Simple Random Sampling, were 440 social welfare card holders in two districts, namely Mueang Trang District and Huai Yot District. Questionnaires were used to collect data. Statistical tests for data analysis included frequency, percentage, means, standard deviation, T-test, F-test. The post hoc test of Scheffe was used for the differences between pairs, and Pearson Product Moment Correlation Coefficient for the level of relationship. The results of the study revealed that the majority of the subjects were females of 41- 50 years of age, with monthly salary of 5,001-10,000 baht in unskilled workforce. They were mostly Buddhists living in Mueang Trang District among 2 - 4 family members. The results revealed that the overall usage of social welfare cards was at medium level with the family aspect at the highest rank. As for the card holders’ quality of life, the research showed the medium level with the social relationship aspect at the highest rank. Concerning the level of the use of social welfare cards when considered through individual factors, salary, job, areas of residency and number of family members had significant effects at 0.05 level Concerning the card holders’ quality of life, age, salary, and job had significant effects at 0.05 level while gender, religion, residency areas, and number of family members showed no significant difference. Finally, the use of social welfare cards had a positive relationship with the holders’ quality of life at the medium level. Suggestions for further studies include 1) adjusting different allowances for card holders of different social contexts in various environments, 2) controlling more strictly the merchandise prices at blue flag stores, 3) screening carefully applicants’ qualifications to prevent fraudulence in the social welfare scheme. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.subject | บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ | en_US |
dc.subject | คุณภาพชีวิต | en_US |
dc.subject | จังหวัดตรัง | en_US |
dc.title | การใช้บัตรสวัสดิการแห่งรัฐกับคุณภาพชีวิตประชาชนผู้ถือบัตรในจังหวัดตรัง | en_US |
dc.title.alternative | The Use of Social Welfare Cards and the Card Holders’ Quality of Life in Trang Province, Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Public Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับของการใช้บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ระดับคุณภาพชีวิตของผู้ใช้บัตรผู้ถือบัตรในจังหวัดตรัง เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับการใช้บัตร เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับคุณภาพชีวิตของผู้ใช้บัตร และท้ายที่สุดเพื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ของระดับการใช้บัตรสวัสดิการแห่งรัฐกับคุณภาพชีวิตของผู้ใช้ กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ จำนวน 440 ราย ใน 2 อำเภอ คือ อำเภอเมืองตรัง และอำเภอห้อยยอด ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ข้อมูลได้จากการใช้แบบสอบถาม เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์หาสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้การทดสอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนด้วยสถิติ F-test ทดสอบค่าความแตกต่างรายคู่ (Post hoc) ด้วยวิธี Scheffe และพิจารณาความสัมพันธ์ของการใช้บัตรสวัสดิการแห่งรัฐกับคุณภาพชีวิตของผู้ใช้บัตร โดยใช้การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า ผู้ใช้บัตรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนจำนวน 5,001-10,000 บาท มีอาชีพรับจ้างทั่วไป/ผู้ใช้แรงงาน นับถือศาสนาพุทธ อาศัยอยู่ที่อำเภอเมืองตรัง และมีจำนวนสมาชิกในครอบครัวระหว่าง 2-4 คน ประชาชนผู้ถือบัตรมีภาพรวมการใช้บัตรสวัสดิการแห่งรัฐอยู่ในระดับปานกลาง โดยด้านที่มีระดับการใช้บัตรเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านครอบครัว ภาพรวมของคุณภาพชีวิตของประชาชนผู้ถือบัตรในจังหวัดตรังอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับการใช้บัตรสวัสดิการแห่งรัฐเมื่อจำแนกตามปัจจัย พบว่า ประชาชนที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน อาชีพ ที่อยู่อาศัย และจำนวนสมาชิกในครอบครัวต่างกัน มีการใช้บัตรสวัสดิการแห่งรัฐต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนประชาชนที่มีเพศ อายุ และศาสนาต่างกัน มีการใช้บัตรสวัสดิการแห่งรัฐไม่แตกต่างกัน ส่วนการเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับคุณภาพชีวิตประชาชนผู้ถือบัตรเมื่อจำแนกตามปัจจัย พบว่า ประชาชนที่มีอายุ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และอาชีพต่างกัน มีคุณภาพชีวิตต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนประชาชนที่มีเพศ ศาสนา ที่อยู่อาศัย และจำนวนสมาชิกในครอบครัวต่างกันมีคุณภาพชีวิตไม่แตกต่างกัน ด้านความสัมพันธ์ระหว่างการใช้บัตรสวัสดิการแห่งรัฐกับคุณภาพชีวิตของประชาชนผู้ถือบัตร อยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยต่อไป คือ 1) ควรพิจารณาวงเงินเป็นหมวดเพื่อให้เหมาะสมกับบริบททางสังคม สภาพ แวดล้อมที่แตกต่างกันของผู้ใช้บัตร 2) ควบคุมร้านธงฟ้าไม่ให้ขึ้นราคาสินค้าเกินกำหนด และ 3) ตรวจสอบผู้ขอรับบัตรสวัสดิการแห่งรัฐอย่างรอบคอบเพื่อป้องกันการสวมสิทธิ | en_US |
Appears in Collections: | 465 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6110520506.pdf | 2.29 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.