Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19540
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรชัย ลิขิตธรรมโรจน์-
dc.contributor.authorพัชรี ดาราไก-
dc.date.accessioned2024-07-09T06:38:58Z-
dc.date.available2024-07-09T06:38:58Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19540-
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2562en_US
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study the organization health of local administrative organizations in Hat Yai District, Songkhla Province and to analyze factors affecting the organization health of local administrative organizations in Hat Yai District, Songkhla Province. The samples were 366 personal of local administrative organizations in Hat Yai District, Songkhla Province. The instrument used in data collection was a questionnaire, analyzed by SPSS. The statistic used were frequency, percentage, mean, standard deviation and hierarchical multiple regression analysis. The study revealed that the level of employee opinions of local administrative organizations in Hat Yai District, Songkhla Province, generally there were a high level opinions. To consider in each point was found that every points were at high level as well; in terms, of Organizational climate, organization culture inferior, organizational health, organization engagement and transformation leadership were showed the highest level opinions respectively. In the hierarchical multiple regression analysis, there were independent variables which were organizational climate, organization culture, transformation leadership, employee engagement and the dependent variable is organization health. That there was a statistically significant correlation with organizational health (F = 64.724, p <.001) and could explain 72.1 percent (R2 = .721) of the variance of organizational health. The comparison with the importance of these variables on organizational health with the B (Beta). Organization engagement have the most positive influence on organizational health Followed by transformation leadership, organization culture and organizational climate respectively (Beta = .425, 339, .050 and .043 respectively)en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectสังคมวิทยาองค์การen_US
dc.subjectวัฒนธรรมองค์การ หาดใหญ่ (สงขลา)en_US
dc.subjectปริญญาโทen_US
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพองค์การขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeFactors Affecting the Organization Health of Local administrative Organizations in Hat Yai District, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Public Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์-
dc.description.abstract-thงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสุขภาพองค์การขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นในอําเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลาและเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพองค์การของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จํานวน 366 คน โดยใช้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย และวิเคราะห์ข้อมูล โดยโปรแกรมคํานวณทางสถิติ สําเร็จรูป SPSS สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเชิงชั้น ผลการศึกษาพบว่า ระดับความคิดเห็นของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยรวมมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับสูง เมื่อพิจารณาเป็นราย ด้านพบว่าแต่ละด้านมีระดับความเห็นอยู่ในระดับสูง โดยด้านบรรยากาศองค์การ มีระดับความ คิดเห็นสูงที่สุด รองลงมาด้านวัฒนธรรมองค์การ ด้านสุขภาพองค์การ ด้านความผูกพันองค์การ และด้านภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลง ตามลําดับ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเชิงชั้น โดยมีตัวแปรอิสระ ได้แก่ บรรยากาศ องค์การ วัฒนธรรมองค์การ ภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลง และความผูกพันองค์การ กับตัวแปรตาม คือสุขภาพองค์การ พบว่า มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติกับสุขภาพองค์การ (F = 64.724, p < .001) สามารถอธิบายความแปรปรวนของสุขภาพองค์การได้ร้อยละ 72.1 (R = .721) และจากการเปรียบเทียบระดับความสําคัญกับตัวแปรเหล่านี้ต่อสุขภาพองค์การด้วยค่า B (Beta) พบว่า ความผูกพันองค์การ มีอิทธิพลทางบวกต่อสุขภาพองค์การมากที่สุด รองลงมา คือ ภาวะผู้นํา การเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมองค์การ และบรรยากาศองค์การ ตามลําดับ (Beta = 425, 339, 050 และ .043 ตามลําดับ)en_US
Appears in Collections:465 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
435437.pdf3.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons