Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19539
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอกวิภู กาลกรณ์สุรปราณี-
dc.contributor.authorนุสนา แหละหมัน-
dc.date.accessioned2024-07-09T06:29:23Z-
dc.date.available2024-07-09T06:29:23Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19539-
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์), 2562en_US
dc.description.abstractA novel and inexpensive method to vulcanize natural rubber latex (NRL) at low temperature by using glurataraldehyde (GA) was successfully prepared and developed. The main objective of this work is to improve the mechanical and other related properties. The effect of natural rubber modification, blending, and reinforcing by using GA as curing agent on the properties (i.e., mechanical, thermal and oil resistant properties) has been investigated. It was found that the properties of cured grafted NR increased with increasing of functional group contents while blending the poly(vinyl alcohol) (PVA) into NRL gained the advantages in term of processing and the addition of nano-clay can improved the mechanical, thermal and oil resistant properties. Furthermore, it was found that cured grafted NR/PVA blend gave better properties than that of cured unmodified NR/PVA blend due to beneficial of the interaction between both phases. The most suitable condition obtained from this work is blending NR-g-PMMA/PVA of 90/10 wt% together with adding 1 phr of nano-clay. The results showed well agreement with dispersion from supporting characterization (ie., SEM-EDX). The properties of newly developed material exhibited better than the benchmarking properties of the rubber flooring sheets from Thai Industrial Standard (TIS 2377-2551). This obtained knowledge would be an alternative way to applied for various rubber industrial applicationsen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectน้ำยางธรรมชาติen_US
dc.subjectยางธรรมชาติen_US
dc.titleการปรับปรุงสมบัติน้ำยางธรรมชาติกราฟต์ด้วยพอลิเมทิลเมทาคริเลทวัลคาไนซ์ด้วยกลูตารัลดีไฮด์เป็นสารเชื่มขวางและการประยุกต์ใช้en_US
dc.title.alternativeEnhancing Properties of vulcanized NR-g-PMMA Latex Using Glutaraldehyde as Crosslinking Agent and Its Applicationsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ-
dc.contributor.departmentFaculty of Science (Materials Science and Technology)-
dc.description.abstract-thกระบวนการวัลคาไนซ์ยางธรรมชาติแนวทางใหม่ที่มีราคาถูกและเตรียมได้ที่อุณหภูมิต่ํา โดยการใช้กลูตารัลดีไฮด์เป็นสารเชื่อมขวางสามารถพัฒนาและเตรียมได้สําเร็จ วัตถุประสงค์หลักของ งานวิจัยนี้คือ การปรับปรุงสมบัติเชิงกลและสมบัติอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องของยางธรรมชาติวัลคาไนซ์โดย ใช้กลูตารัลดีไฮด์เป็นสารเชื่อมขวาง ทําการศึกษาผลของการดัดแปรโมเลกุล การเบลนด์ และการ เสริมแรงในน้ํายางธรรมชาติต่อสมบัติต่าง ๆ (ได้แก่ สมบัติเชิงกล สมบัติเชิงความร้อน และความ ต้านทานต่อน้ํามัน) จากผลการศึกษาพบว่าสมบัติต่าง ๆ ของน้ํายางธรรมชาติที่ผ่านการกราฟต์มี แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเมื่อปริมาณของหมู่ฟังก์ชันเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่การผสมพอลิไวนิลแอลกอฮอล์เข้า ไปในน้ํายางธรรมชาติ พบข้อดีในการปรับปรุงกระบวนการแปรรูปและการเติมนาโนเคลย์สามารถ ปรับปรุงสมบัติเชิงกล สมบัติเชิงความร้อน และความต้านทานต่อน้ํามันได้ นอกจากนี้ยังพบว่า ยางธรรมชาติที่ผ่านการกราฟต์ผสมกับพอลิไวนิลแอลกอฮอล์มีสมบัติที่ดีกว่าน้ํายางธรรมชาติที่ไม่ผ่าน การกราฟต์ผสมกับพอลิไวนิลแอลกอฮอล์ ทั้งนี้เนื่องจากการเกิดอันตรกิริยาระหว่างสองเฟส โดย สภาวะที่เหมาะสมจากการศึกษานี้ คือ การใช้น้ํายางธรรมชาติกราฟต์ด้วยพอลิเมทิลเมทาคริเลท เบลนด์กับพอลิไวนิลแอลกอฮอล์ที่สัดส่วนการผสมเท่ากับ 90/10 โดยน้ําหนัก ร่วมกับการเติมนาโน เคลย์ที่ปริมาณ 1 phr ซึ่งผลดังกล่าวสอดคล้องกับการกระจายตัวที่ดี สามารถยืนยันได้จากการการ ตรวจสอบลักษณะเฉพาะโดยใช้เทคนิค SEM-EDX สมบัติต่าง ๆ ของวัสดุที่พัฒนาขึ้นใหม่ชนิดนี้ ให้ สมบัติที่ดีกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับสมบัติของแผ่นยางปูพื้นจากมาตรฐานอุตสาหกรรมไทย(มอก.2377-2551) และความรู้ที่ได้จากการศึกษานี้จะเป็นอีกหนึ่งแนวทางสําหรับการประยุกต์ใช้งานใน อุตสาหกรรมยางที่หลากหลายมากขึ้นen_US
Appears in Collections:342 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
435441.pdf11.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons