Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19537
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญรดี ทวีกาญจน์-
dc.contributor.authorมาลินี มะโซ-
dc.date.accessioned2024-07-09T04:35:20Z-
dc.date.available2024-07-09T04:35:20Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19537-
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2562en_US
dc.description.abstractThis study was a mixed method research employing both quantitative and qualitative data. The objectives of this study were 1) to investigate level of equal employment opportunities, transformational leadership, work-life balance, organizational culture and career advancement of Women assistant district officers in Songkhla Province and Phatthalung Province, 2) to examine factors of equal employment opportunities, transformational leadership, work-Life balance, organizational culture affecting career advancement of Women Assistant District Officers in Songkhla Province and Phatthalung Province and 3) to study problems and suggestions of career advancement of Women Assistant District Officers in Songkhla Province and Phatthalung Province. The population of the study was 55 Women Assistant District in Songkhla Province and Phatthalung Province. Percentage, Distribution, Means, Standard Deviation and Simple Regression were employed to analyze the data. It was found that the variables that affect the career advancement of Women Assistant District Officers in Songkhla Province and Phatthalung Province. were in the highest level with equal employment opportunities (Beta = 0.704, Adj R=49), work-life balance (Beta = 0.744, Adj R2 = .54) and organizational culture (Beta=0.758 Adj R=57) statistically significantly (0.05). Factors of equal employment opportunities, transformational leadership, work-life balance, and organizational culture affected positively the prediction of the career advancement of Women Assistant District Officers in Songkhla Province and Phatthalung Province However, the result of qualitative study was different from the quantitative research. According to the quantitative research, the result showed that equal employment opportunities affected the career advancement. Moreover, factors of the chance of creating work-life balance and life influenced the career advancement of Women Assistant District Officers in Songkhla Province and Phatthalung Province. This is not line with the qualitative result, revealing that most Women Assistant District Officers in Songkhla Province and Phatthalung Province did not have balance in life and work because the job was not suitable for women body and their family expected them of taking care of the family and doing chores. These led to decisions making of Women Assistant District Officers to choose their family instead of career advancement. The factor of transformational leadership was important for Women Assistant District Officers. Besides, the acceptance as Women Assistant District Officers was challenging.en_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectปลัดอำเภอหญิงen_US
dc.subjectการพัฒนาอาชีพ ความแตกต่างทางเพศen_US
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความก้าวหน้าในอาชีพของปลัดอำเภอหญิงในจังหวัดสงขลาและจังหวัดพัทลุงen_US
dc.title.alternativeFactors Affecting Career Advancement Women Assistant District Officers in Songkhla Province and Phatthalung Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Public Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์-
dc.description.abstract-thการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความก้าวหน้าในอาชีพของปลัดอําเภอหญิงในจังหวัดสงขลาและจังหวัดพัทลุง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานวิธีการจังหวัดสงขลาและจังหวัดพัทลุงเป็นการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพร่วมกัน ซึ่งเป็นการออกแบบการวิจัยแบบเรียงตามลําดับ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับ ปัจจัยโอกาสการจ้างงานที่เท่าเทียมกัน ภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลงการสร้างสมดุลระหว่างชีวิตกับการทํางาน วัฒนธรรมองค์การ และความก้าวหน้าในอาชีพของเจ้า พนักงานปกครองสตรีตําแหน่งปลัดอําเภอหญิงในจังหวัดสงขลาและจังหวัดพัทลุง เพื่อศึกษา ปัจจัยโอกาสการจ้างงานที่เท่าเทียมกัน ภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลง การสร้างสมดุลระหว่างชีวิตกับ การทํางาน วัฒนธรรมองค์การ ที่มีผลต่อความก้าวหน้าในอาชีพของเจ้าพนักงานปกครองสตรีตําแหน่งปลัดอําเภอหญิงในจังหวัดสงขลาและจังหวัดพัทลุง 3.เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะความก้าวหน้าในอาชีพของเจ้าพนักงานปกครองสตรีตําแหน่งปลัดอําเภอหญิงในจังหวัดสงขลาและจังหวัดพัทลุง โดยมีกลุ่มประชากร ได้แก่ ปลัดอําเภอหญิงในจังหวัดสงขลาและจังหวัดพัทลุง จํานวน 55 คน โดยใช้สถิติการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่ายผลการวิจัยสรุปดังนี้ ตัวแปรที่มีปัจจัยต่อความก้าวหน้าในอาชีพของปลัดอําเภอหญิงใน จังหวัดสงขลาและจังหวัดพัทลุง อยู่ในระดับมากที่สุด โดยโอกาสการจ้างงานที่เท่าเทียม (Beta- 0.724, A4 2 = 45) ภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลง Be Adj R = 303 การสร้างความสมดุล ระหว่างชีวิตกับการทํางาน Ects=0,744, A4 R = 4) วัฒนธรรมองค์การ (Beta 0.725 Audi R =27) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ปัจจัยโอกาสการการจ้างงานที่เท่าเทียม ภาวะผู้นําการ เปลี่ยนแปลง การสร้างความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทํางาน วัฒนธรรมองค์การมีอิทธิพลส่งผลเชิงบวกในการพยาการ ความก้าวหน้าในอาชีพของปลัดอําเภอหญิงในจังหวัดสงขลาและจังหวัด พัทลุง ทั้งนี้ผลการวิจัยเชิงคุณภาพมีความแตกต่างจากผลการวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่าโอกาสการจ้างงานที่เท่าเทียมกันส่งผลต่อความก้าวหน้าในอาชีพ ปัจจัยโอกาสการสร้างความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทํางานส่งผลต่อความก้าวหน้าในอาชีพของปลัดอําเภอหญิงในจังหวัดสงขลาและจังหวัดพัทลุง ไม่สอดคล้องกับผลการวิจัยเชิงคุณภาพที่พบว่าปลัดอําเภอหญิงในจังหวัดสงขลาและจังหวัดพัทลุงส่วนใหญ่ไม่มีความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทํางาน เนื่องด้วยลักษณะ งานที่ไม่เอื้อต่อสรีระทางกายภาพของผู้หญิงและคาดหวังต่อบทบาททางครอบครัวที่ผู้หญิงต้องดูแลครอบครัวและงานภายในบ้าน ส่งผลให้ปลัดอําเภอหญิงในจังหวัดสงขลาและจังหวัดพัทลุงส่วนใหญ่ตัดสินใจเลือกครอบครัวก่อนความก้าวหน้าในอาชีพของปลัดอําเภอหญิง ปัจจัยภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งที่จําเป็นสําหรับปลัดอําเภอหญิงในจังหวัดสงขลาและจังหวัดพัทลุง การได้รับการยอมรับในฐานะปลัดอําเภอหญิงเป็นสิ่งที่ท้าทายen_US
Appears in Collections:465 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
435535.pdf2.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons