Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19525
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัญชนา สินธวาลัย-
dc.contributor.authorคเณศ บุณยรัตน์-
dc.date.accessioned2024-07-04T04:53:47Z-
dc.date.available2024-07-04T04:53:47Z-
dc.date.issued2024-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19525-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วศ.ม. (การจัดการอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2567en_US
dc.description.abstractThis research aims to create a maintenance planning system for the High Pressure Processing machine, as currently there is only a plan for repairs when it is damaged. The data recording in 2022 exhibits that the 30-liter High Pressure Processing machine (STI-LTP-HPP-30-01) was downtime for 1,544 hours/year. Therefore, the researcher decides to establish a maintenance planning system by applying the concept of Total Productive Maintenance (TPM). According to the data recording, there are three damage causes including the leaking of the intensifier, the damageRelay, and the damage to the pressure vessel seal. After that, the activity of pillar 3 (planned maintenance) of TPM was applied to create a maintenance planning system for the High Pressure Processing machine. The details of the planned maintenance system are as follows. 1) Inspection checking and maintenance which consists of the daily plan, weekly plan, monthly plan, three-month plan, six-month plan, and yearly plan. 2) Inspection and maintenance documents. 3) Standard operation procedure of Inspection checking and maintenance. The results of the trial of the planned maintenance system over a period of 3 months found that there was no breakdown of the High Pressure Processing machine. Moreover, there is the evaluation of this system with great satisfaction. The average score is 4.63 and standard deviation is 0.49en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์en_US
dc.subjectเครื่องฆ่าเชื้อ--การบำรุงรักษาและการซ่อมแซมen_US
dc.titleการจัดทำระบบบำรุงรักษาตามแผนสำหรับเครื่องฆ่าเชื้อแรงดันสูงen_US
dc.title.alternativeDeveloping A Preventive Maintenance Plan For High Pressure Processing Machineen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering (Industrial Engineering)-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.description.abstract-thงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการจัดทำระบบบำรุงรักษาตามแผนสำหรับเครื่องฆ่า เชื้อแรงดันสูง เนื่องจากปัจจุบันหน่วยงานมีการทำงานแบบซ่อมเมื่อเสีย โดยจากข้อมูลในปี พ.ศ.2565 พบว่าเครื่องฆ่าเชื้อด้วยแรงดันสูง ขนาด 30 ลิตร มีระยะเวลาในการหยุดทำงาน 1,544 ชั่วโมงต่อปี ผู้วิจัยจึงได้จัดทำระบบบำรุงรักษาตามแผนของเครื ่องฆ ่าเชื้อด้วยแรงดันสูง ขนาด 30 ลิตร โดย ประยุกต์ใช้แนวคิดการบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม (TPM) จากนั้นเข้าสู่ขั้นตอนการศึกษาและ รวบรวมข้อมูลเครื่องจักร พบว่าสาเหตุการหยุดทำงานของเครื่องฆ่าเชื้อด้วยแรงดันสูง ขนาด 30 ลิตร เกิดขึ้น 3 ครั้ง ดังนี้ 1) ซีลของหน่วยสร้างแรงดัน (Intensifier) รั่ว 2) รีเลย์ (Relay) เสีย 3) ซีลของ ภาชนะแรงดันรั่ว จากนั้นผู้วิจัยนำแนวคิดการบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม โดยนำเอากิจกรรม เสาหลักที่ 3 การบำรุงรักษาตามแผน มาจัดทำเป็นระบบการบำรุงรักษาตามแผนของเครื่องฆ่าเชื้อ ด้วยแรงดันสูง ขนาด 30 ลิตร ผลการจัดทำระบบบำรุงรักษาตามแผน มีรายละเอียดดังนี้ 1) การ วางแผนการตรวจเช็คและบำรุงรักษา ประกอบด้วย แผนรายวัน แผนรายสัปดาห์ แผนรายเดือน แผน ราย 3 เดือน แผนราย 6 เดือน และแผนรายปี 2) เอกสารตรวจเช็คและบำรุงรักษา 3) คู่มือขั้นตอน มาตรฐานในการตรวจเช็คและบำรุงรักษา ผลการทดลองใช้งานระบบการบำรุงรักษาตามแผน ใน ระยะเวลา 3 เดือนพบว่า ยังไม่พบปัญหาการหยุดทำงานของเครื่องจักร และได้มีการประเมินความพึง พอใจระบบการบำรุงรักษาตามแผน ผลที่ได้จากการประเมินอยู่ในเกณฑ์ ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด โดยมีค่าค่าเฉลี่ย ( ) เท่ากับ 4.63 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.49en_US
Appears in Collections:228 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6510121002.pdf5.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons