Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19509
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorแก้วตา แก้วตาทิพย์-
dc.contributor.authorซุการี ชายเร๊ะ-
dc.date.accessioned2024-06-25T06:49:25Z-
dc.date.available2024-06-25T06:49:25Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19509-
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์), 2562en_US
dc.description.abstractStarch is a natural polymer that can be used to make eco-friendly foam. However, neat starch foam has poor mechanical properties and is sensitive to moisture. In the first part of this study, properties of starch foam were proved using fibers from rubber seed shell (RSS) and water hyacinth (WH) and the improvements obtained were compared to improvements obtained with commercial cellulose (CL) fillers. RSS and WH fiber fillers improved the moisture sensitivity and mechanical and thermal properties of neat starch foam but, starch foam with 10%wt CL had the best mechanical properties and lowest moisture sensitivity. Also, RSS and WH fibers were modified by reducing the size of the fiber particles by planetary ball milling at 600 rpm for 40 min. The addition of modified RSS improved the properties of starch foam composites more than the addition of unmodified RSS. However, unmodified WH showed better results than modified WH. In the second part of the study, starch foam was coated with beeswax and the effects of the coating on the properties of the starch foam were investigated. The beeswax coating on the surface of starch foam composites reduced the water absorption of all the starch foams due to the presence of a hydrophobic phase. However, starch foam composites coated with beeswax showed poor mechanical properties because the difference of polarity between beeswax and starch foam composites impaired interfacial interaction. This behavior was confirmed by SEM microscopy.en_US
dc.description.sponsorship1.ทุนอุดหนุนการศึกษา เป็นผู้ช่วยวิจัย (Research Assistant) ปีการศึกษา 2560 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สัญญาเลขที่ 1-2560-02-006 2.ทุนสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพื่อไปเสนอผลงานวิชาการ ประจําปีงบประมาณ 2561 3.ทุนอุดหนุนการวิจัยวิทยานิพนธ์ ประจําปีงบประมาณ 2560 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectวัสดุโฟมen_US
dc.titleอิทธิพลของเส้นใยธรรมชาติและการเคลือบผิวโฟมแป้งด้วยไขขี้ผึ้งที่มีผลต่อสมบัติของโฟมแป้งen_US
dc.title.alternativeEffect of natural fibers and beeswax coating on the properties of starch-based foamen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ-
dc.contributor.departmentFaculty of Science (Materials Science and Technology)-
dc.description.abstract-thแป้งเป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติที่สามารถเตรียมเป็นโฟมที่สามารถย่อยสลายได้ในธรรมชาติและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แต่อย่างไรก็ตามพบว่าโฟมแป้งมีข้อจํากัดในการใช้งานคือ มีสมบัติเชิงกลต่ํา และมีความไวต่อความชื้น ดังนั้นงานวิจัยนี้สนใจศึกษาการปรับปรุง สมบัติของโฟมแป้งโดยใช้เส้นใยธรรมชาติ 2 ชนิด คือ เส้นใยเปลือกลูกยางพาราและเส้นใย ผักตบชวาเปรียบเทียบกับเซลลูโลสทางการค้าและเคลือบผิวโฟมแป้งด้วยไขขี้ผึ้ง พบว่าเส้นใย ทั้ง 2 ชนิด สามารถปรับปรุงสมบัติเชิงกล การดูดซับความชื้น และสมบัติทางความร้อนของ โฟมแป้งได้ แต่อย่างไรก็ตามพบว่าโฟมแป้งผสมเส้นเซลลูโลสทางการค้าร้อยละ 10 โดย น้ําหนักของแป้ง สามารถปรับปรุงสมบัติของโฟมแป้งได้ดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับการผสม เส้นใยธรรมชาติทั้ง 2 ชนิด นอกจากนี้เมื่อนําเปลือกลูกยางพาราและเส้นใยผักตบชวาไปบด ด้วยเทคนิคบอลมิลที่ความเร็วรอบ 600 รอบต่อนาที เป็นเวลา 40 นาที ก่อนนําไปผสมในโฟม แป้ง พบว่าเส้นใยเปลือกลูกยางพาราที่ผ่านการบดมีประสิทธิภาพในการปรับปรุงสมบัติของ โฟมแป้งได้ดีกว่าเส้นใยเปลือกลูกยางพาราที่ไม่ผ่านการบด แต่อย่างไรก็ตามพบว่าเส้นใย ผักตบชวาที่ไม่ผ่านการบดสามารถปรับปรุงสมบัติของโฟมแป้งได้ดีกว่าเส้นใยผักตบชวาที่ผ่าน การบด และเมื่อศึกษาการเคลือบผิวโฟมแป้งด้วยไขขี้ผึ้ง พบว่าการเคลือบผิวโฟมแป้งด้วยไข ขี้ผึ้งสามารถปรับปรุงสมบัติการดูดซับน้ําของโฟมแป้งได้ดี เพราะไขขี้ผึ้งมีสมบัติไม่ชอบน้ํา อย่างไรก็ตามการเคลือบผิวด้วยไขขี้ผึ้งส่งผลให้สมบัติเชิงกลของโฟมแข็งลดลง เนื่องจากการ ยึดเกาะกันได้ไม่มีระหว่างผิวหน้ายืนยันได้จากผลลักษณะทางสัณฐานวิทยาen_US
Appears in Collections:342 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
435589.pdf9.61 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons