Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19430
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSumana Laparojkit-
dc.contributor.authorPanuvat Aramchot-
dc.date.accessioned2024-06-04T07:11:10Z-
dc.date.available2024-06-04T07:11:10Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19430-
dc.descriptionMaster of Business Administration (International Program), 2023en_US
dc.description.abstractThis study investigates the factors affecting Thai domestic air transportation repurchase intention during the Covid-19 pandemic. An online survey was conducted to examine the influence of push motivation, pull motivation, attitude, subjective norm, and perceived behavioral control on repurchase intention among Thai domestic air travelers. The sample included male and female tourists with varying education and income levels. Data was analyzed using multiple regression analysis, independent sample t-tests, and one-way ANOVA. The results revealed that push motivation and perceive behavioural control positively influenced repurchase intention. However, pull motivation, attitude and subjective norm did not show a significant relationship with repurchase intention when analyzed using multiple regression, the study found significant differences in subjective norm across gender, and there is no significant different among the income level. The findings contribute to both theoretical and practical knowledge, shedding light on the factors affecting travelers' repurchase intentions during the pandemic and providing valuable information for developing marketing strategies and crisis management in the tourism industry. Limitations of the study include its focus on Thai travelers, online survey methodology, and data collection during the pandemic, which may limit the generalizability of the results. Future research should explore other variables affecting repurchase intention, such as customer trust, perceived risk, travel restrictions, and customer service quality.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectTravel Motivationen_US
dc.subjectRepurchase Intentionen_US
dc.subjectAir Transporten_US
dc.subjectCovid-19 Pandemicen_US
dc.titleMotivation Factors Influencing Thai Customers’ Repurchase Intention in Thai Domestic Air Transportation Service During the Covid-19 Pandemicen_US
dc.title.alternativeปัจจัยด้านแรงจูงใจที่มีผลต่อการตัดสินใจกลับมาใช้บริการสายการบินภายในประเทศไทยซ้ำ ในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thงานวิจัยฉบับนี้มีจุดประสงค์ในการสำรวจปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจกลับมาใช้บริการสายการบินภายในประเทศซ้ำในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า การศึกษานี้มีการสำรวจผลของปัจจัยผลัก (Push Motivation), ปัจจัยดึงดูด (Pull Motivation), ทัศนคติ (Attitude), การคล้อยตามบุคคลอ้างอิง (Subjective Norm), และการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม (Perceive Behavioral Control) ที่มีต่อการตัดสินใจกลับมาใช้บริการสายการบินภายในประเทศไทยซ้ำ ในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาประกอบด้วยนักท่องเที่ยวชายและหญิงที่มีระดับการศึกษาและรายได้ที่แตกต่างกัน ข้อมูลถูกวิเคราะห์โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis), การเปรียบเทียบแบบรวมกลุ่ม (Independent Sample T-test), และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัยเปิดเผยว่าปัจจัยผลัก (Push Motivation) และการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม (Perceive Behavioral Control) มีผลบวกต่อความตั้งใจในการกลับมาซื้อซ้ำ อย่างไรก็ตาม ปัจจัยดึงดูด (Pull Motivation), ทัศนคติ (Attitude) และการคล้อยตามบุคคลอ้างอิง (Subjective Norm) ไม่แสดงความสัมพันธ์ที่มีนัยสำคัญกับความตั้งใจในการกลับมาซื้อซ้ำ อย่างไรก็ตาม ผลจากงานวิจัยพบว่าความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของปัจจัยด้านการคล้อยตามบุคคลอ้างอิง (Subjective Norm) ในระหว่างกลุ่มตัวอย่างเพศชายและหญิง หากแต่ไม่มีความแตกต่างที่มีนัยสำคัญในกลุ่มตัวอย่างที่มีระดับรายได้แตกต่างกัน งานวิจัยฉบับนี้นี้มีความสำคัญทั้งในเชิงทฤษฎีและการปฏิบัติ โดยงานวิจัยฉบับนี้ช่วยเสริมความเข้าใจทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้บริโภคและแรงจูงใจในการท่องเที่ยว โดยเฉพาะในสถานการณ์วิกฤต เช่น การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ผ่านการเพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีความแตกต่างกัน นอกจากนี้การศึกษาย้ำถึงความสำคัญของปัจจัยทางเพศที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการท่องเที่ยว นอกจากนี้งานวิจัยฉบับนี้ยังเป็นประโยชน์ในเชิงปฏิบัต่อผู้ประกอบการสายการบินและภาคการท่องเที่ยว ให้สามารถใช้ข้อมูลเหล่านี้เพื่อปรับกลยุทธ์การตลาดและแผนการจัดการในช่วงเวลาวิกฤติ ให้เข้ากับความต้องการและความชอบที่หลากหลายของนักท่องเที่ยวได้อย่างเหมาะสม และสามารถทำความเข้าใจถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการกลับมาซื้อสินค้าและบริการซ้ำในช่วงวิกฤติได้มากยิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:460 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6210521026.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons