Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19421
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อับดุลฮากัม เฮ็งปิยา | - |
dc.contributor.author | ณัฐนรี ไทยาภิรมย์ | - |
dc.date.accessioned | 2024-05-29T07:19:16Z | - |
dc.date.available | 2024-05-29T07:19:16Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19421 | - |
dc.description | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารและการจัดการการศึกษาอิสลาม), 2566 | en_US |
dc.description.abstract | This study is action research. The objectives of the study are to: 1) develop and determine the efficiency value of teachers’ training package on skills for creating an integrated learning package for Islamic studies with science subjects, which was developed through participatory means; 2) study the results of using teachers’ training package on skills for creating an integrated learning package for Islamic studies with science subjects; and 3) examine teachers' satisfaction towards training by workshops using teachers’ training package on skills for creating an integrated learning package for Islamic studies with science subjects in Santi Sukas schools, Chiang Mai Province. The target group is 20 teachers who were purposefully selected from Santi Sukas schools. Chiang Mai Province. The research tools consist of 1) teachers’ training package on skills for creating an integrated learning package for Islamic studies with science subjects, and 2) pre- and post-training tests 3) Integrated learning plan evaluation form 4.) teachers’ satisfaction questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics, including percentage, mean, and standard deviation, and t-tests for dependent samples. The study findings showed that there are seven steps involved in developing teachers’ training packages on skills for creating an integrated learning package for Islamic studies with science subjects through participatory means. These are: 1) reviewing relevant theoretical concepts for developing a training package and related training technique documents, 2) creating material based on the ideas for the training package's structure and content, 3) creating a draft version of the teachers’ training (7) package in collaboration with the teachers, 4) evaluating and enhancing the teachers' training package draft by specialists in the field 5) experimenting the training package, 6) develop a final training package, and 7) implementing the training package with the teachers through workshops and evaluating its efficiency values. The level of efficiency of teachers’ training packages on skills for creating an integrated learning package for Islamic studies with science subjects was found to be 90.33/93.17, which is higher than the predetermined criteria of 80/80. The results of using teachers’ training package on skills for creating an integrated learning package for Islamic studies with science subjects showed that teachers have knowledge and understanding about an integrated learning package for Islamic studies with science subjects after training was higher (mean 93.17) than before training (mean 74.33 ) with statistical significance at the 0.05 and teachers have skills in writing integrated learning plan for Islamic studies with science subjects, as reflected in the quality of the learning plan, which obtained very high score (total score of 28/30 points) and the overall level of teachers' satisfaction towards training by workshops using teachers’ training package on skills for creating an integrated learning package for Islamic studies with science subjects in Santi Sukas schools, Chiang Mai Province was very high (mean 4.95). | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | ชุดฝึกอบรมครูแบบมีส่วนร่วม | en_US |
dc.subject | ชุดการเรียนรู้แบบบูรณาการ | en_US |
dc.subject | อิสลามศึกษา | en_US |
dc.subject | วิชาวิทยาศาสตร์ | en_US |
dc.title | การพัฒนาชุดฝึกอบรมครูแบบมีส่วนร่วม เรื่อง ทักษะการสร้างชุดการเรียนรู้แบบบูรณาการอิสลามศึกษากับวิชาวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนสันติศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Participatory Development of Teachers’ Training Package on Skills for Creating an Integrated Learning Package for Islamic Studies with Science Subjects in Santi Suksa School Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Islamic Sciences | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการอิสลาม | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและหา ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมครูที่พัฒนาแบบมีส่วนร่วม เรื่อง ทักษะการสร้างชุดการเรียนรู้แบบ บูรณาการอิสลามศึกษากับวิชาวิทยาศาสตร์ 2) ศึกษาผลการใช้ชุดฝึกอบรมครูที่พัฒนาแบบมีส่วนร่วม เรื่อง ทักษะการสร้างชุดการเรียนรู้แบบบูรณาการอิสลามศึกษากับวิชาวิทยาศาสตร์ และ3) ศึกษา ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยชุดฝึกอบรมครูที่พัฒนาแบบมีส่วนร่วม เรื่อง ทักษะการสร้างชุดการเรียนรู้แบบบูรณาการอิสลามศึกษากับวิชาวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนสันติศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มเป้าหมาย คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนสันติศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ จํานวน 20 คน คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) ชุดฝึกอบรมครูที่พัฒนา แบบมีส่วนร่วม เรื่อง ทักษะการสร้างชุดการเรียนรู้แบบบูรณาการอิสลามศึกษากับวิชาวิทยาศาสตร์ ในโรงเรียนสันติศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ 2) แบบทดสอบก่อน-หลังการฝึกอบรม 3) แบบประเมิน แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ และ4.) แบบสอบถามความพึงพอใจของครู วิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติเชิงพรรณนา โดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบสองกลุ่ม ตัวอย่างที่สัมพันธ์กัน ( t-test for Dependent Samples) ผลการวิจัยพบว่า ในการพัฒนาชุดฝึกอบรมครูแบบมีส่วนร่วม เรื่อง ทักษะการสร้าง ชุดการเรียนรู้แบบบูรณาการอิสลามศึกษากับวิชาวิทยาศาสตร์นั้น มีขั้นตอนการพัฒนาแบบมีส่วน ร่วม 7 ขั้นตอนดังนี้ คือ 1) ศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุดฝึกอบรมและวิธีการอบรม จากเอกสารงานที่เกี่ยวข้อง 2) พัฒนาเนื้อหาตามแนวคิดด้านโครสร้างเนื้อหาของชุดฝึกอบรม 3) พัฒนาชุดฝึกอบรมแบบมีส่วนร่วมกับครู (ฉบับร่าง) 4) ตรวจสอบคุณภาพของชุดฝึกอบรมโดย ผู้เชี่ยวชาญและปรับปรุงแก้ไข 5) นําชุดฝึกอบรมไปทดลองใช้ 6) จัดทําชุดฝึกอบรมฉบับสมบูรณ์ และ 7) นําชุดฝึกอบรมฉบับสมบูรณ์ไปใช้กับครูกลุ่มเป้าหมายและหาค่าประสิทธิภาพ โดยผลการหา ประสิทธิภาพจากการนําการนําชุดฝึกอบรมครูที่พัฒนาแบบมีส่วนร่วม เรื่อง ทักษะการสร้างชุดการ เรียนรู้แบบบูรณาการอิสลามศึกษากับวิชาวิทยาศาสตร์ ไปอบรมเชิงปฏิบัติการกับครูกลุ่มเป้าหมาย พบว่ามีค่าประสิทธิภาพโดยรวมเท่ากับ 90.33/93.17 สูงกว่าเกณฑ์ (80/80) ผลการใช้ชุดฝึกอบรมครู (5) แบบมีส่วนร่วม เรื่อง ทักษะการสร้างชุดการเรียนรู้แบบบูรณาการอิสลามศึกษากับวิชาวิทยาศาสตร์ พบว่า ครูมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการหลังการฝึกอบรมสูงกว่า (ค่าเฉลี่ย 93.17) ก่อนการฝึกอบรม (ค่าเฉลี่ย 74.33) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ครูมี ทักษะการเขียนแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการอิสลามศึกษากับวิชาวิทยาศาสตร์ ในระดับคุณภาพที่ดี มาก (ได้คะแนนรวม 28/30 คะแนน ) และ ครูมีความพึงพอใจต่อการอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยชุด ฝึกอบรมครูแบบมีส่วนร่วม เรื่อง ทักษะการสร้างชุดการเรียนรู้แบบบูรณาการอิสลามศึกษากับวิชา วิทยาศาสตร์ในโรงเรียนสันติศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ โดยรวมในระดับดีมาก (ค่าเฉลี่ย 4.95) | en_US |
Appears in Collections: | 761 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6520420110.pdf | 2.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License