Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19347
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงค์เทพ สุธีรวุฒิ-
dc.contributor.authorเพียงรวี รัตนมุณี-
dc.date.accessioned2024-01-25T08:54:11Z-
dc.date.available2024-01-25T08:54:11Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19347-
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการระบบสุขภาพ), 2566en_US
dc.description.abstractThis study is a descriptive research. The purpose of this study was to study the management of coronavirus infection 2019 in a secondary school, Songkhla Province. Qualitative data was collected by in-depth interviews with school administrators and group discussions with school-related people, teachers and staff, parents, students, each group of 10 people. Data was collected between April 2023 - May 2023. Data was analyzed using content analysis. The results of the study revealed that the management of coronavirus 2019 infection in the pre-epidemic stage is preventable by implementing the main measures DMHT-RC and the school emphasizes strict compliance with the measures. During the epidemic managed to reduce violence by adhering to the main measures DMHT-RC combined with the supplementary measures SSET-CQ. Both mental and physical recovery are managed. Due to individual factors, students still lack knowledge and understanding. They were not aware that infection may infect vulnerable groups and will affect others severely. As for the environmental factor, the area inside the school is crowded. The school population is large. There are not enough prophylactic materials. As for the systemic and mechanical factors, the school does not have a working group responsible for the epidemic within the school. and no adaptation of the DMHT-RC guidelines to the school context. Guidelines for the management of coronavirus disease 2019 in schools should have guidelines that focus on consistency with the context of the educational institution and conducive to actual practice. To prepare and to deal with the outbreak of the disease effectively. So that students, teachers, and staff in educational institutions can live safely.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการจัดการen_US
dc.subjectโคโรนาไวรัส 2019en_US
dc.titleการจัดการการติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 ในโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่ง จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeInfection Management of Coronavirus 2019 in the Secondary School, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentHealth System Management Institute-
dc.contributor.departmentสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ-
dc.description.abstract-thการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการการติด เชื้อโคโรนาไวรัส 2019 ในโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่ง จังหวัดสงขลา เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดย การสัมภาษณ์เชิงลึกในกลุ่มผู้บริหารโรงเรียน และการสนทนากลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน ได้แก่ ครู และบุคลากร ผู้ปกครอง นักเรียน จ านวนกลุ่มละ 10 คน เก็บรวบรวมข้อมูล ระหว่างเดือนเมษายน 2566 - พฤษภาคม 2566 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า การจัดการการติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 ในระยะก่อนการแพร่ ระบาดมีการปูองกัน โดยปฏิบัติมาตรการหลัก DMHT-RC โรงเรียนมีการเน้นการปฏิบัติตามมาตรการ อย่างเคร่งครัด ในระยะระหว่างมีการแพร่ระบาด มีการจัดการเพื่อลดความรุนแรง โดยปฏิบัติตาม มาตรการหลัก DMHT-RC ผนวกกับปฏิบัติตามมาตรการเสริม SSET-CQ ส่วนระยะหลังการแพร่ระบาด มีการจัดการการฟื้นฟูทั้งด้านสุขภาพจิตและด้านร่างกาย อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีการจัดการแต่ยังมี การระบาดที่ไม่สามารถควบคุมได้ เนื่องจากปัจจัยด้านปัจเจกบุคคล คือ นักเรียนยังขาดความรู้ความเข้าใจ ไม่ตระหนักในเรื่องหากตนเองติดเชื้อ อาจจะแพร่เชื้อไปยังกลุ่มเปราะบาง และจะส่งผลกระทบต่อผู้อื่น อย่างรุนแรง ส่วนปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม คือ พื้นที่ภายในโรงเรียนมีความแออัด ประชากรในโรงเรียน มีจ านวนมาก วัสดุปูองกันโรคมีไม่เพียงพอ ส าหรับปัจจัยด้านระบบและกลไก คือ ทางโรงเรียนไม่มี การแต่งคณะท างานที่รับผิดชอบงานด้านโรคระบาดภายในโรงเรียน และไม่มีการปรับแนวทางปฏิบัติ DMHT-RC ให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน แนวทางการจัดการการติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 ในโรงเรียนจึงควรมีแนวทางปฏิบัติ ที่เน้นความสอดคล้องเข้ากับบริบทของสถานศึกษา และเอื้ออ านวยให้เกิดการปฏิบัติได้จริง เพื่อเตรียม ความพร้อมในการรับมือกับการระบาดของโรคอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้นักเรียน คุณครู และบุคลากร ในสถานศึกษาสามารถด ารงชีวิตอยู่ได้อย่างปลอดภัย ข้อเสนอแนะต่อ สถานศึกษาต้องมีการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคระบาด รวมถึงการสร้าง ความตระหนักในการแพร่ระบาดไปสู่กลุ่มเปราะบาง มีการสอดแทรกเนื้อหาของโรคระบาดไปในวิชาเรียน ในเรื่องของการเกิดโรค การแพร่ระบาด การปูองกันโรค และมีการประสานงานร่วมกันระหว่างโรงเรียน กับสถานพยาบาล เพื่อส่งเสริมสุขภาพ รวบถึงการติดตามเฝูาระวังโรคระบาดภายในโรงเรียนen_US
Appears in Collections:148 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5910024008.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons