Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19335
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSitthisak Jantarat-
dc.contributor.authorPhakawat Kittikhunodom-
dc.date.accessioned2024-01-25T07:10:48Z-
dc.date.available2024-01-25T07:10:48Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19335-
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีววิทยาประยุกต์), 2566en_US
dc.description.abstractThis study was carried out in October 2020 – September 2021 to study bird diversity and habitat relationship in the urban areas of Mueang Pattani district, Pattani Province. The bird population contains 14 orders, 14 families, 85 genera, and 111 species. Most species were listed as the Least Concern in the IUCN endangered list, except 7 species. It was also found that the richness of bird species was highest in October. The Shannon-Wiener’s diversity index and evenness index of the total population were 3.14 and 0.21, respectively. Comparing the diversity index and evenness index of two areas, it was found that in the open areas (3.29 and 0.26, respectively) were higher than in the built-up areas (2.62 and 0.22, respectively). We analyzed the mean differences of diversity index, and it was found that in August September and October, the open areas were significantly more than the built-up areas (P=0.032, 0.015 and 0.002, respectively). In the study of human-bird interaction, it was found that the sampling groups most in viewed the birds had no effect, except some sampling groups that view birds positively on generating income from the bird's nest harvesting. Therefore, this study is vital to understand the bird ecology in the urban areas, providing the bird population and diversity for the conservation status (IUCN Data Red List) consideration and for conservation plans for the potential that support the population of birds, and potentially the other wildlifes in terms of feeding ground, nesting ground and roosting ground. Finally, this study can set the framework for the coexistence of humans and wildlife in the future.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectBird speciesen_US
dc.subjectOpen areaen_US
dc.subjectBuilt-up areaen_US
dc.subjectชนิดพันธุ์ของนกen_US
dc.subjectพื้นที่เปิดโล่งen_US
dc.subjectพื้นที่สิ่งปลูกสร้างen_US
dc.titleBird Diversity and Habitat Heterogeneity in the Urban and Sub-Urban Areas of Mueang Pattani District, Pattani Provinceen_US
dc.title.alternativeความหลากหลายและถิ่นที่อยู่อาศัยของนกในเขตพื้นที่เมืองและชานเมืองของ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานีen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์-
dc.contributor.departmentFaculty of Science and Technology (Science programs)-
dc.description.abstract-thการศึกษาครั้งนี้ ได้ดำเนินการในช่วงระหว่างเดือนตุลาคม 2563 ถึงเดือนกันยายน 2564 เพื่อศึกษาความหลากหลายและความสัมพันธ์เชิงพื้นที่อยู่อาศัยของนกในเขตพื้นที่เมืองของอำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ผลการศึกษาพบนกทั้งสิ้น 14 อันดับ 41 วงศ์ 85 สกุล และ 111 ชนิด ส่วนใหญ่มีสถานะการอนุรักษ์ประเภทความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ต่ำ (Least Concern) แต่มีประเภทใกล้ถูกคุกคาม (Near Threatened) 5 ชนิด ประเภทใกล้สูญพันธุ์ (Vulnerable) 1 ชนิด และประเภทใกล้สูญพันธ์อย่างยิ่ง (Endangered) 1 ชนิด จำนวนชนิดของนก พบว่า มีค่าสูงที่สุดในช่วงเดือนตุลาคม ค่าดัชนีความหลากหลายและค่าดัชนีความสม่ำเสมอ พบว่ามีค่าเท่ากับ 3.14 และ 0.21 ค่าดัชนีความหลากหลายและค่าดัชนีความสม่ำเสมอของสองพื้นที่ พบว่าในพื้นที่เปิดโล่ง (3.29 และ 0.26 ตามลำดับ) มีค่ามากกว่าในพื้นที่สิ่งปลูกสร้าง (2.62 และ 0.22 ตามลำดับ) ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยดัชนีความหลากหลาย พบว่า ในเดือนสิงหาคม กันยายน และตุลาคม พื้นที่เปิดโล่งมีค่ามากกว่าพื้นที่สิ่งปลูกสร้าง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P=0.032 0.015 และ 0.002 ตามลำดับ) การศึกษาปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์กับนก พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มองว่านกไม่มีผลกระทบ แต่ยังมีกลุ่มตัวอย่างบางส่วนที่มองว่านกมีผลกระทบทางบวกในเรื่องของการสร้างรายได้จากธุรกิจรังนก การศึกษาครั้งนี้จึงเป็นประโยชน์ต่อการศึกษานิเวศวิทยาในด้านความหลากหลายของนกในเขตพื้นที่เมือง และนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาไปนำเสนอในการปรับเปลี่ยนสถานะทางการอนุรักษ์ หรือ IUCN Data Red List ตลอดจนการนำข้อมูลที่ได้ไปปรับใช้ในแผนการอนุรักษ์พื้นที่ที่มีศักยภาพในการสนับสนุนการดำรงชีวิตของนก และสัตว์ป่าอื่น ๆ ได้ ทั้งในเรื่องพื้นที่อยู่อาศัย พื้นที่ทำรังวางไข่ และพื้นที่หากิน และนำไปสู่การกำหนดแนวทางการอยู่ร่วมกันของมนุษย์และสัตว์ป่าในอนาคตได้en_US
Appears in Collections:722 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6320320501.pdf3.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons