Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19247
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธรรมสินธ์ อิงวิยะ-
dc.contributor.authorกันต์ฤทัย ตั้งสุรเสฏฐ์-
dc.date.accessioned2023-12-20T08:07:03Z-
dc.date.available2023-12-20T08:07:03Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19247-
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์สุขภาพและการวิจัยทางคลินิก), 2566en_US
dc.description.abstractRegistered nurses working in inpatient departments are generally involve with working overnight which also required a knowledge and skills to perform their duties on patient caring. Uncertain working hours and working conditions are also common. As a result, assessing and maintaining work ability of the nurses working in inpatient departments are important. The objective of this study was to evaluate the level and assess the factors associated with work ability of nurses working in inpatient departments of a university hospital in Thailand. The study was a cross-sectional study. Information of nurses was collected using questionnaire survey. The exposure including heat, light and noise were measured using standard methods. Cluster random sampling were performed to select the study population. The descriptive statistics and the ordinal logistic regression were performed. A total of 374 registered nurses working in the inpatient departments participated in the study. The average work ability index was 32.8 points (SD 3.4) and 78.8% of participants was categorized as having moderate level of work ability. The factors associated with work ability were age of 45 years old and older (ORadj = 3.73, 95%CI = 1.31). – 10.86), average monthly income of more than 50,000 baht (ORadj = 5.31, 95%CI = 1.72 – 16.87) and working beyond self-capacity (ORadj = 0.38, 95%CI = 0.20 – 0.71). To maintain the work ability of registered nurses, the hospital administrative team should consider and readjust the workforce and increase the manpower of registered nurses to ensure the proper distribution of the workload. In addition, policy makers should pay more attention to the new registered nurses to maintain and promote their work ability so that they can continue working effectively and happily.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectความสามารถในการทำงานen_US
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพen_US
dc.subjectหอผู้ป่วยในen_US
dc.titleความสามารถในการทำงานและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของบุคลากรพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยในของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeWork ability and related factors among registered nurse in inpatient departments in a university hospital, Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Medicine (Health Sciences)-
dc.contributor.departmentคณะแพทยศาสตร์ (วิทยาศาสตร์สุขภาพ)-
dc.description.abstract-thพยาบาลวิชาชีพผู้ปฏิบัติงานหอผู้ป่วยในมีหน้าที่ดูแลผู้ป่วยที่รับการรักษาค้างคืนในโรงพยาบาลซึ่งต้องใช้ทักษะเชิงวิชาชีพ และต้องเผชิญกับสภาวะแวดล้อมที่ไม่แน่นอน ดังนั้นการประเมินและคงไว้ซึ่งความสามารถในการทำงานของพยาบาลกลุ่มนี้จึงมีความสำคัญ การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการทำงานของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยในของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง โดยการศึกษาเป็นรูปแบบภาคตัดขวาง ทำการเก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามและตรวจวัดสิ่งแวดลอมในการทำงาน และคัดเลือกประชากรศึกษาด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ Cluster random sampling และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมานโดยวิธีการถดถอยลอจิสติกเชิงอันดับ (Ordinal logistic regression) ในการศึกษามีกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมการศึกษาทั้งสิ้น จำนวน 374 คน พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการทำงาน 32.8 คะแนน และร้อยละ 78.8 มีระดับความสามารถในการทำงานอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการทำงาน ได้แก่ ช่วงอายุมากกว่า 45 ปี (ORadj = 3.73, 95%CI = 1.31 – 10.86) รายได้เฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า 50,000 บาท ปี (ORadj = 5.31, 95%CI =1.72 – 16.87) และการทำงานเกินขีดจำกัดของร่างกาย (ORadj = 0.38, 95%CI = 0.20 – 0.71) ดังนั้นเพื่อคงไว้ซึ่งความสามารถในการทำงานที่ดี หน่วยงานจึงควรพิจารณาจัดการอัตรากำลังสำหรับพยาบาลวิชาชีพผู้ปฏิบัติงานหอผู้ป่วยในให้เพียงพอเพื่อกระจายภาระงานอย่างเหมาะสม รวมถึงการจัดทำนโยบายที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิการและการดูแลพยาบาลวิชาชีพผู้ปฏิบัติงานหอผู้ป่วยในที่เพิ่งเริ่มปฏิบัติงานเพื่อเป็นการเพิ่มหรือธำรงไว้ซึ่งความสามารถในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพกลุ่มนี้en_US
Appears in Collections:351 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6410320010.pdfความสามารถในการทำงานและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของบุคลากรพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยในของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในประเทศไทย1.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons