Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19230
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ซอฟียะห์ นิมะ | - |
dc.contributor.author | ทวีศักดิ์ วงศ์กีรติเมธาวี | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-20T03:44:05Z | - |
dc.date.available | 2023-12-20T03:44:05Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19230 | - |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการระบบสุขภาพ), 2566 | en_US |
dc.description.abstract | This descriptive cross-sectional research aimed to provide data describing the model of promoting exercise among older adults in fall prevention through community participation in Hat Yai City Municipality, Hat Yai District, Songkhla Province. Data were collected using questionnaires and observations on 145 elderly aged 60 and over in Hat Yai municipality with stratified two-stage and simple sampling from September - December 2022. Descriptive statistics and content analysis then analyzed quantitative and qualitative data, respectively. The results demonstrated that 104 (71.10%) of the 145 older adults exercised by walking and balancing (50.31%) with stretching before and after exercise (67.30%). Most (81.40%) knew exercise could help prevent falls. While 41 older adults did not exercise (28.27%) due to inappropriate time in 17 persons (11.72%), underlying health problems in 9 persons (6.20%), and six persons were not interested (4.14%). The possibility to foster an exercise for preventing falls in older people through a community participation model was 1) screening for fall-risk elderly, 2) recruiting and enrolling risk groups to participate in exercise activities, 3) continuing and adhering to those activities, 4) monitoring and evaluation, and 5) exercise public policy formation and expansion. The findings of this study revealed that most older people were familiar with exercise to prevent falls. However, some rarely had access to exercise training due to time limits, no interest, and health problems. Therefore, policy formation at each level, such as local government organizations, must develop a support system to create a friendly environment conducive to physical activity and exercise by promoting community participation. Consequently, all older adults have an awareness and appreciation for accessing suitable opportunities, including having options that are occupied with their physical condition and the context of their lives. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การมีส่วนร่วมของชุมชน | en_US |
dc.subject | การป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ | en_US |
dc.subject | การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ | en_US |
dc.title | รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ กรณีศึกษา : เทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา | en_US |
dc.title.alternative | A Model to Promote Exercise among the Elderly to Prevent Falls through Community Participation: A Case Study of Hat Yai City Municipality, Hat Yai District, Songkhla Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Health System Management Institute | - |
dc.contributor.department | สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการสังเกต กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ จำนวน 145 ราย โดยใช้แผนการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิสองขั้น และการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ระหว่างเดือนกันยายน- เดือนธันวาคม พ.ศ. 2565 และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาตามลำดับ ผลการศึกษา สถานการณ์การออกกำลังกายเพื่อป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุ จำนวน 145 คน มีการออกกำลังกายจำนวน 104 คน (ร้อยละ 71.10) ด้วยวิธีการเดินและทรงตัว (ร้อยละ 50.31) มีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนและหลัง (ร้อยละ 67.30) ส่วนใหญ่ทราบว่าการออกกำลังกายสามารถช่วยป้องกันการหกล้มได้ ร้อยละ 81.40 สำหรับผู้สูงอายุที่ไม่ได้ออกกำลังกายจำนวน 41 คน (ร้อยละ 28.27) ให้เหตุผลว่าไม่มีเวลา 17 คน (ร้อยละ 11.72 ) มีปัญหาสุขภาพ 9 คน (ร้อยละ 6.20 ) และไม่สนใจ 6 คน (ร้อยละ 4.14) สำหรับการพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คือ 1) การค้นหากลุ่มเสี่ยงที่จะหกล้มในกลุ่มผู้สูงอายุ 2) การจัดสรรกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรม 3) การดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 4) การติดตามประเมินผล และ 5) การกำหนดและขยายผลเชิงนโยบายต่อการจัดการออกกำลังกายเพื่อป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาข้างต้น พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีการออกกำลังกายที่สามารถช่วยป้องกันการหกล้มได้ อย่างไรก็ตาม ยังมีผู้สูงอายุอีกบางส่วนที่ไม่สามารถเข้าถึงการออกกำลังกาย ดังนั้น กลไกเชิงนโยบายในแต่ละระดับ เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำเป็นต้องพัฒนาระบบสนับสนุนเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการออกกำลังกาย ด้วยการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อให้ผู้สูงอายุ สามารถเข้าถึงโอกาสการออกกำลังกายที่เหมาะสม รวมทั้งมีทางเลือกที่มีความสอดคล้องกับสภาพร่างกายและบริบทของวิถีชีวิตของผู้สูงอายุแต่ละรายได้อย่างครอบคลุมต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | 148 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6310024011.pdf | 9.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License