Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19219
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอีสมาแอ กาเต๊ะ-
dc.contributor.authorสมศักดิ์ ชุ่มชื่น-
dc.date.accessioned2023-12-19T08:44:36Z-
dc.date.available2023-12-19T08:44:36Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19219-
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (อิสลามศึกษา), 2566en_US
dc.description.abstractThis research aimed to study 1) the adaption of the Mu'allaf family in the Muslim community of Jami Ulmuttakin Mosque (Lam Sali), Bangkapi District, Bangkok; 2) the problems and obstacles in the adaptation of the Mu'allaf family in the Muslim community of Jami Ulmuttakin Mosque (Lam Sali), and 3) Suggest guidelines for helping and improving the quality of life of the Mu'alluf family in Muslim society. Data was collected using a qualitative research method from case studies of 14 Mu'aluf using in-depth interviews, observations, and field recordings. Analyze the data by content analysis, categorize the main points, and present the results of the descriptive studies. The results showed that the adaptation to being a Muslim of the Mu'allaf family was divided into 5 aspects: 1) Faith aspect; faith is strengthened through studying the Quran, practicing prayer, and learning religious teaching. 2) Customs and religious ceremonies aspect; adjustments have been made to remain able to participate in the social activities of the previous family within limits permitted by religion. 3) Relationship aspect; there was an understanding and compromise to maintain the relationship with the previous family. 4) Personality aspect; the behaviors, expressions, etiquette, and personality were adjusted in accordance with religious teachings. And 5) Aspects of lifestyle; they adapt to eating halal food, concealing their clothing, and living according to religious principles. However, it was found that the majority of the Mu'allaf struggled with all aspects of adjustment, particularly religious understanding, preserving relationships with previous families, transitioning to new families, and issues with practicing in accordance with religious principles. It is recommended that social and religious organizations work together to assist Mu'allaf and enhance their quality of life.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการปรับตัวen_US
dc.subjectครอบครัวมุอัลลัฟen_US
dc.subjectชุมชนมุสลิมเขตบางกะปิen_US
dc.titleสภาพการปรับตัวของครอบครัวมุอัลลัฟในชุมชนมุสลิมเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร: กรณีศึกษามัสยิดยามิอุ้ลมุตตะกีน (ลำสาลี)en_US
dc.title.alternativeAdaption of New Convert Muslim Families in Muslims Community Bangkapi, Bangkok: Case Study of Jamiulmuttakeen Mosque (Lamsalee)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Islamic Sciences-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการอิสลาม-
dc.description.abstract-thการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการปรับตัวของครอบครัวมุอัลลัฟในชุมชนมุสลิมมัสยิดยามิอุ้ลมุตตะกีน (ลำสาลี) เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาปัญหาอุปสรรคการปรับตัวของครอบครัวมุอัลลัฟในชุมชนมุสลิมมัสยิดยามิอุ้ลมุตตะกีน (ลำสาลี) เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร และ 3) เสนอแนะแนวทางในการช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวิตครอบครัวมุอัลลัฟในสังคมมุสลิม โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลจากกรณีศึกษาผู้เป็นมุอัลลัฟจำนวน 14 คน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกต และการบันทึกภาคสนาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา จัดหมวดหมู่ประเด็นหลัก และนำเสนอผลการศึกษาเชิงบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า สภาพการปรับตัวสู่การเป็นมุสลิมของครอบครัวมุอัลลัฟโดยภาพรวมแบ่งออกเป็น 5 ด้าน คือ 1) ด้านความเชื่อความศรัทธา เสริมความเข้มแข็งทางศรัทธาด้วยการศึกษาอัลกุรอาน และเรียนรู้บทบัญญัติศาสนา 2) ด้านจารีตประเพณีและพิธีกรรมทางศาสนา มีการปรับตัวเพื่อให้ยังคงสามารถมีส่วนร่วมกับกิจกรรมทางสังคมของเครือญาติและครอบครัวเดิมภายใต้ขอบเขตที่ศาสนาอนุญาต 3) ด้านความสัมพันธ์ มีการสร้างความเข้าใจและประนีประนอมเพื่อรักษาความสัมพันธ์กับสมาชิกในครอบครัวเดิม และปรับการวางตัวเพื่อให้ครอบครัวใหม่ยอมรับ 4) ด้านบุคลิกภาพ มีการปรับพฤติกรรมการแสดงออก จรรยามารยาท และบุคลิกภาพให้สอดคล้องตามคำสอนศาสนา และ 5) ด้านวิถีการดำเนินชีวิต มีการศึกษาเรียนรู้คำสอนศาสนาให้ความสำคัญกับการบริโภคอาหารที่ฮาลาล และการแต่งกายตามหลักการศาสนา โดยพบว่า มุอัลลัฟส่วนใหญ่มีปัญหาอุปสรรคการปรับตัวในทุกด้าน โดยเฉพาะความเข้าใจในความรู้ศาสนา การรักษาความสัมพันธ์กับครอบครัวเดิมและปรับตัวกับครอบครัวใหม่ และการปรับวิถีการดำเนินชีวิตให้เป็นไปตามบทบัญญัติศาสนา โดยมีข้อเสนอแนะให้องค์กรทางศาสนาและสถาบันทางสังคมที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพของมุอัลลัฟให้มีความเข้มแข็งยิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:761 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6120420010.pdf2.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons