Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19190
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประจวบ ทองศรี-
dc.contributor.authorรังสฤษ ล่าหับ-
dc.date.accessioned2023-12-18T07:59:20Z-
dc.date.available2023-12-18T07:59:20Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19190-
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณทิต (การบริหารการพัฒนาสังคม), 2565en_US
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to assess the happiness of the older persons in Thepha District, Songkhla Province 2) to analyze the factors affecting the happiness of the older persons in Thepha District, Songkhla Province and 3) to propose guidelines for promoting happiness among the older persons in Thepha District, Songkhla Province. The older persons in Thepha district, Songkhla province. This research is a mixed method research using random samples from older persons in Thepha district, Songkhla province, both males and females. aged 60 years and over, totaling 385 people. The happiness assessment form of older people in Thepha district, Songkhla province, was used to collect data, and the data was analyzed using statistical values, percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and multiple regression. The results of the quantitative research found that the overall happiness of the elderly in Thepha District, Songkhla Province, was at a high level. When considering each aspect, it was found that happiness first came from the awareness of self-worth. followed by happiness arising from the welfare of the state and happiness arising from the ability to take care of oneself, respectively. and found that the self-esteem factor, self-care ability, and social welfare for older persons There was a positive correlation with the happiness level of the older persons. with statistical significance at the 0.01 level (r = 0.86, 0.87, 0.77, respectively). They were able to predict the happiness of the older persons in Thepha District, Songkhla Province at 88% with a statistical significance at the 0.01 level (R2 = 0.88, p<0.01). Qualitative research results By interviewing the older persons with the highest scores from each sub-district in Thepha District in 7 sub-districts, 5 people in total, 35 people in total. The definition of happiness is to be in the presence of family members and to see their children become good people and succeed in life. The guidelines for promoting the happiness of the older persons in Thepha District, Songkhla Province can be summarized as follows: 1) As much as possible, older persons should define happiness in life in terms of their own -esteem. 2) As much as possible, older persons should adjust their emotions and thoughts to the current situation. 3) The older persons should choose jobs. Or a career that is suitable for their physical condition. 4) In their spare time, the older persons should engage in activities that benefit them as much as possible. 5) Close people or people around them should give importance to the older persons. 6) The community or the state should provide a place or provide a good environment for the older persons. 7) The state should provide comprehensive and equitable care for the older persons. 8) The state should continue to provide social welfare.role in promoting more spiritually conscious religious activities. 10) The state should play a greater role in ensuring the safety of the community, especially in regard to the crime rate against the older persons.en_US
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์ ประจำปีงบประมาณ 2564en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectความสุขของผู้สูงอายุในอำเภอเทพา จังหวัดสงขลาen_US
dc.subjectความสุข ผู้สูงอายุ การเห็นคุณค่าในตนเอง ความสามารถในการดูแลตนเอง สวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุen_US
dc.subjectความภูมิใจแห่งตนในวัยสูงอายุen_US
dc.titleความสุขของผู้สูงอายุในอำเภอเทพา จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeHappiness among the older persons in Thepha District, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Humanities and Social Sciences (Social Sciences)-
dc.contributor.departmentคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาสังคมศาสตร์-
dc.description.abstract-thการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อประเมินความสุขของผู้สูงอายุในอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา 2) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความสุขของผู้สูงอายุในอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา 3) เพื่อเสนอแนวทางการส่งเสริมความสุขของผู้สูงอายุในอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method) จากการสุ่มตัวอย่างจากผู้สูงอายุในอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ทั้งเพศชายและหญิง ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 385 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วยแบบประเมินและแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับความสุขของผู้สูงอายุในอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา และทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และค่าสถิติการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยเชิงปริมาณพบว่า ความสุขของผู้สูงอายุในอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อันดับแรกเป็นด้านความสุขอันเกิดจากการตระหนักถึงคุณค่าในตนเอง รองลงมาเป็นด้านความสุขอันเกิดจากการได้รับสวัสดิการของรัฐ และ ด้านความสุขอันเกิดจากความสามารถในการดูแลตนเองได้ ตามลำดับ และพบว่า ปัจจัยดังกล่าวมีความสัมพันธ์ทางบวกกับระดับความสุขของผู้สูงอายุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ( r = 0.86, 0.77, 0.87 ตามลำดับ) โดยสามารถร่วมพยากรณ์ความความสุขของผู้สูงอายุในอำเภอเทพา จังหวัดสงขลาได้ร้อยละ 88 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (R2=0.88, p<0.01) ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุที่มีผลคะแนนสูงสุดทุกตำบลในอำเภอเทพา จำนวน 7 ตำบลๆ ละ 5 คน รวมทั้งสิ้น 35 คน พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ให้นิยามความสุขเป็นการได้อยู่พร้อมหน้าพร้อมตาของคนในครอบครัวและได้เห็นลูกหลานเป็นคนดีประสบความสำเร็จในชีวิต พบแนวทางการส่งเสริมความสุขของผู้สูงอายุในอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ได้แก่ 1) ผู้สูงอายุควรนิยามความสุขให้สอดคล้องกับการตระหนักถึงคุณค่าในตนเอง 2) ผู้สูงอายุควรปรับตัวทางอารมณ์และความคิดให้สอดคล้องกับสภาวะการณ์ปัจจุบัน 3) ผู้สูงอายุควรเลือกงานที่พอเหมาะกับสภาพร่างกาย 4) ผู้สูงอายุควรทำกิจกรรมเวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 5) บุคคลคนใกล้ชิดควรให้ความสำคัญต่อผู้สูงอายุ 6) ชุมชนหรือรัฐควรที่จัดสภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีให้ผู้สูงอายุ 7) รัฐควรดูแลผู้สูงอายุให้ทั่วถึงและเท่าเทียม 8) รัฐควรจัดสวัสดิการทางสังคมอย่างต่อเนื่อง 9) รัฐควรมีบทบาทในส่งเสริมกิจกรรมทางศาสนาที่ใช้ยึดเหนี่ยวจิตใจให้มากขึ้น 10) รัฐควรเข้ามามีบทบาทในการดูแลความปลอดภัยของชุมชนโดยเฉพาะเรื่องอัตราการเกิดอาชญากรรมต่อผู้สูงอายุen_US
Appears in Collections:427 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6220220601.pdf3.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons