Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19174
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทรงสิน ธีระกุลพิศุทธิ์ | - |
dc.contributor.author | ณัฐฐิญา มณีโชคชูโรจน์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-18T03:51:44Z | - |
dc.date.available | 2023-12-18T03:51:44Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19174 | - |
dc.description | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2565 | en_US |
dc.description.abstract | This research aimed to investigate the Attendees’ demands in attending MICE venues, Meeting rooms, where certified Thailand MICE Venue Standard (TMVS) in Songkhla during COVID-19 pandemic. Moreover, the research also aimed to provide the guideline to improve TMVS MICE venues in Songkhla province. The study was Mixed Methods research that included qualitative method research integrating with a quantitative method research for obtaining complete data and data were collected through questionnaire with 360 visitors who visited Songkhla TMVS meeting rooms during COVID-19 pandemic total 30 rooms from 8 venues and focus group interview with 8 Songkhla TMVS meeting rooms directors. The results showed that the majority of visitors were female, aged between 30 – 39 years old with bachelor’s degree, mostly self-employed, aerage income was 45,000 Baht and above per month and lived in Hat Yai, most of them knew TMVS by Social network and attended MICE at TMVS meeting in Sonkhla 2 times during Covid – 19 pandemic. Besides, it was found that their demands in attending Songkhla TMVS meeting rooms pointed out the strongly agree of Physical component, Technology component, Service component, Sustainability component and COVID 19 preventive measures. In addition to provide guideline for improving Songkhla TMVS MICE venues found that there were many different factors, opinions and needs that could improve their venues to be better from Songkhla TMVS MICE venues directors. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | สถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19 | en_US |
dc.subject | สถานที่จัดงานไมซ์ประเภทห้องประชุม | en_US |
dc.subject | มาตรฐานสถานที่จัดงานประเทศไทย | en_US |
dc.subject | ความต้องการของลูกค้า | en_US |
dc.title | ความต้องการของผู้เข้าร่วมงานในการใช้บริการสถานที่จัดงานไมซ์ประเภทห้องประชุม ในจังหวัดสงขลาในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19 | en_US |
dc.title.alternative | Attendees’ Demands in Attending MICE Venues (Meeting rooms) in Songkhla during COVID-19 Pandemic | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Business Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมและปัจจัยส่วนบุคคลกับศึกษาความต้องการของผู้เข้าร่วมงานที่ใช้บริการสถานที่จัดงานไมซ์ที่ได้รับมาตรฐานสถานที่จัดงานประเทศไทย (TMVS) ประเภทห้องประชุมในจังหวัดสงขลาในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด – 19 อีกทั้งเพื่อจัดทำแนวทางการปรับปรุงสถานที่จัดงานไมซ์ที่ได้รับมาตรฐานสถานที่จัดงานประเทศไทย (TMVS) ในจังหวัดสงขลา งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณร่วมกับการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการเก็บแบบสอบถามกับกลุ่มผู้เข้าร่วมงานที่มีประสบการณ์ในการใช้บริการในสถานที่จัดงานที่ได้รับรองมาตรฐาน TMVS ประเภทห้องประชุม ในปี 2564 จำนวนทั้งสิ้น 30 ห้องประชุมจากสถานที่จัดงานจำนวน 8 แห่งในจังหวัดสงขลาในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19 ทั้งสิ้น 360 คน พร้อมทั้งทำการสนทนากลุ่มกับผู้บริหารสถานที่จัดงานไมซ์ที่ได้รับมาตรฐาน TMVS ในจังหวัดสงขลา ปี 2564 อีกเป็นจำนวน 8 ท่านจาก 8 สถานที่จัดงาน ผลการศึกษาพบว่าผู้เข้าร่วมงานไมซ์ทั้งสิ้น 360 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุอยู่ในช่วง 30 – 39 ปี วุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว โดยมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ที่ 45,001 บาท ขึ้นไป และพักอาศัยอยู่เขตอำเภอหาดใหญ่ ส่วนใหญ่รู้จักมาตรฐาน TMVS โดยรับรู้ผ่านช่องทางสังคมออนไลน์ และมีความถี่ในการเข้าร่วมงานไมซ์จำนวน 2 ครั้งในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดโรค 19 อีกทั้งในส่วนของความต้องการของผู้เข้าร่วมงานที่มีต่อประชุมที่ได้รับมาตรฐานสถานที่จัดงาน TMVS จังหวัดสงขลา พบว่า ด้านกายภาพ ด้านเทคโนโลยี ด้านบริการ ด้านความยั่งยืน และด้านมาตรการการป้องกันโรคโควิด-19 อยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด ทั้งนี้ สำหรับการจัดทำแนวทางการปรับปรุงสถานที่จัดงานไมซ์ที่ได้รับมาตรฐาน TMVS ในจังหวัดสงขลา พบว่ามีหลากหลายปัจจัย เหตุผล และความต้องการที่แตกต่างกันในความคิดเห็นของผู้บริหารสถานที่จัดงานที่ได้รับมาตรฐาน TMVS ในปี 2654 ในจังหวัดสงขลาที่จะสามารถปรับปรุงสถานที่จัดงานไมซ์ให้ดียิ่งขึ้นกว่าเดิมได้ | en_US |
Appears in Collections: | 460 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6310521042.pdf | 1.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License