Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19164
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กุลวดี ลิ่มอุสันโน | - |
dc.contributor.author | ไชยวัฒน์ วัฒนะธีระภาพวงศ์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-12T03:01:59Z | - |
dc.date.available | 2023-12-12T03:01:59Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19164 | - |
dc.description | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2566 | en_US |
dc.description.abstract | Research on Factors Affecting Decision of Over-indebtedness among Generation Y after COVID-19 Situation : A Case study of Phuket Province, The purpose of this study was to study Individual factors, Behavior of Over-indebtedness, Consumption habits, Marketing mix factors and COVID-19 factors affecting the over-indebtedness behavior of Generation Y in Phuket province after COVID-19 situation, The researcher used primary data gathering questionnaire from Generation Y populations 399 persons in Phuket province. Descriptive data analysis using percentage, frequency distribution, mean and standard deviation and inferential analysis by One-way ANOVA and Multiple Regression Analysis. The study found Generation Y in Phuket province who responded to questions were mostly female populations 248 persons, graduated with a bachelor’s degree, occupation are private company/hotel staff career that were single, most of them have planned monthly expenses and never defaulted on their debt payments, had an income of 15,000 – 30,000 bath per month and have various debts of 5,001 - 10,000 baht per month and have 1-3 credit cards or debit cards. For the analysis of factor affecting decision of over-indebtedness, it was found that 1) Individual factors are different. The decisions to over-indebtedness are different. 2) Behavior of over-indebtedness are different. The decisions to over-indebtedness are different. 3) Consumption habits affecting decision of over-indebtedness 4) Marketing mix factors affecting decision of over-indebtedness in 3 aspect, product, distribution channel and marketing promotion, and 5) COVID-19 situation affecting decision of over-indebtedness | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การตัดสินใจก่อหนี้ | en_US |
dc.subject | Generation Y | en_US |
dc.subject | สถานการณ์โควิด 19 | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจก่อหนี้เกินตัวของกลุ่มคน Generation Y ช่วงหลังเกิดสถานการณ์โควิด 19 : กรณีศึกษาจังหวัดภูเก็ต | en_US |
dc.title.alternative | Factors Affecting Decision of Over-indebtedness among Generation Y after COVID-19 Situation : A Case study of Phuket Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Business Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ | - |
dc.description.abstract-th | งานวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจก่อหนี้เกินตัวของกลุ่มคน Generation Y ช่วงหลังเกิดสถานการณ์โควิด 19 : กรณีศึกษาจังหวัดภูเก็ต มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางประชากรศาสตร์ พฤติกรรมการก่อหนี้เกินตัว พฤติกรรมด้านการบริโภค ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด และปัจจัยวิกฤตจาก Covid 19 ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจก่อหนี้เกินตัวของกลุ่มคน Generation Y ในจังหวัดภูเก็ตช่วงหลังเกิดสถานการณ์โควิด 19 การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาใช้ข้อมูลปฐมภูมิจากการเก็บรวมรวบข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (Questionnaire) จากกลุ่มคน Generation Y ในจังหวัดภูเก็ต จำนวน 399 คน และนำมาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาด้วย ค่าร้อยละ(Percentage) ค่าความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการวิเคราะห์เชิงอนุมานด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มคน Generation Y ในจังหวัดภูเก็ต ที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจำนวน 248 คน จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/โรงแรม สถานภาพโสด ไม่มีบุตรหรือผู้ที่อยู่ในการอุปการะดูแล ส่วนใหญ่มีการวางแผนค่าใช้จ่ายรายเดือนจำนวน 341 คน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,000 – 30,000 บาท มีภาระหนี้สินต่างๆอยู่เดือนละ 5,001 – 10,000 บาท ส่วนใหญ่ยังไม่เคยผิดนัดชำระหนี้ และมีบัตรเครดิตหรือบัตรกดเงินสดจำนวน 1-3 บัตร สำหรับการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจก่อหนี้เกินตัว พบว่า 1) ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์แตกต่างกัน การตัดสินใจก่อหนี้เกินตัวแตกต่างกัน 2) พฤติกรรมการก่อหนี้เกินตัวแตกต่างกัน การตัดสินใจก่อหนี้เกินตัวแตกต่างกัน 3) พฤติกรรมด้านการบริโภคส่งผลต่อการตัดสินใจก่อหนี้เกินตัว 4) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดส่งผลต่อการตัดสินใจก่อหนี้เกินตัว จำนวน 3 ด้านจาก 4 ด้าน ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด และ 5) ปัจจัยวิกฤตจาก Covid 19 ส่งผลต่อการตัดสินใจก่อหนี้เกินตัว | en_US |
Appears in Collections: | 460 Minor Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6410521016.pdf | 270.22 kB | Adobe PDF | View/Open | |
6410521016.pdf | 1.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License