Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19153
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSukree Hajisamae-
dc.contributor.authorWasina Rungruang-
dc.date.accessioned2023-12-06T08:28:45Z-
dc.date.available2023-12-06T08:28:45Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19153-
dc.descriptionMaster of Science (Fishery Science and Technology), 2022en_US
dc.description.abstractThe study on the effects of Pom-nang seaweed, Gracilaria fisheri on growth, survival, feed efficiency and catalase production of juvenile mud crab, Scylla paramamosain was conducted. The main objectives of this study are to investigate (1) effect of dietary diets with different Pom-nang seaweed supplementation’s levels on growth rate, survival rate, feed efficiency and catalase activity of juvenile mud crab and (2) influence of Pom-nang seaweed density as a shelter and stocking density on growth, feed efficiency, and survival rates of juvenile mud crab. Two experiments were conducted. The first experiment, juvenile mud crabs were individually stocked in plastic containers with an initial body weight of 0.02 g. Two factors including five dietary treatments (Pom-nang seaweed powder supplemented at the level of 0%, 2%, 4% and 6% and control; mysid shrimp) and two shelter treatments (with Pom-nang seaweed as shelter and without shelter) were designed. Juvenile mud crabs were fed at 8% body weight for 28 days. It was found that different diets had significant effects on weight gain (WG), specific growth rate on body weight (SGRw), protein efficiency ratio (PER) but not for feed conversion ratio (FCR), catalase activity (CAT) and survival rate of the crabs. The crabs reared with seaweeds as shelter had significantly different PER, FCR, CAT and survival rate values compared to those without seaweeds as shelter (P < 0.05). There were significant differences on the interactions of the combined factor on WG, SGR and PER (P <0.05). It was found that mysid shrimp was the most appropriate food for nursing juvenile mud crab. However, formulated diets supplemented with seaweeds had a potential to replace mysid shrimp. The combination of seaweed as shelter and the formulated diets with 4% seaweed (PSP4) had the highest values of all growth performances and survival rate compared to the others. The second experiment, effect of stocking density and density of Pom-nang seaweed as shelter on growth and survival rates of juvenile mud crab were conducted using juvenile mud crab with an initial body weight of 0.02 g. Two factors including four stocking density treatments (100, 200, 300 and 400 crab/m2) and four densities of Pom-nang seaweed as shelter (100 g/m2, 500 g/m2, 1,000 g/m2 and without shelter) were tested. Juvenile mud crabs were fed with PSP4 at 8% body weight for 28 days. It was found that different stocking density had significant effects on PER and FCR (P <0.05), and different density of Pom-nang seaweed as a shelter had significant effects on PER, FCR and survival rate (P <0.05). The stocking density at 400 crab/m2 and high density of Pom-nang seaweed as a shelter at 1,000 g/m2 was the optimal rate for nursing juvenile mud crab as indicated by growth performances and survival rate. There was no impact of interaction effect of the combined factor. This study can support a new technique and method for the development of nursing mud crab in the future.en_US
dc.description.sponsorshipPrince of Songkla University under the Discipline of Excellence for Sustainable Aquaculture Project research for advancement of completed aquaculture system for mud crab (Scylla spp.) to be a new economic species by means of participation for area development mechanism in Pattani province. Universiti Malaysia Sabah (UMS) and Prince of Songkla University (PSU) Pattani Campus for providing scholarships to support this study under the UMS – PSU Dual Master Degrees Program.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectJuvenile Mud Crab, Scylla paramamosainen_US
dc.subjectPom-nang Seaweed, Gracilaria fisherien_US
dc.subjectdietary dietsen_US
dc.subjectShelter densityen_US
dc.subjectstocking densityen_US
dc.titleEffects of Pom-nang Seaweed, Gracilaria fisheri on Growth, Survival, Feed Efficiency and Catalase Production of Juvenile Mud Crab, Scylla paramamosainen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Sciecnce and Technology (Technology and Industries)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาเทคโนโลยีและการอุตสาหกรรม-
dc.description.abstract-thผลของสาหร่ายผมนาง Gracilaria fisheri ต่ออัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย ประสิทธิภาพการใช้อาหาร และการสร้างคะตาเลสของปูขาว Scylla paramamosain ระยะวัยรุ่น โดยการทดลองแบ่งเป็นสองส่วนคือ ส่วนที่หนึ่งเป็นการศึกษาผลของการเสริมสาหร่ายผมนางในอาหารที่ระดับต่างกันและการใส่สาหร่ายผมนางเป็นที่หลบซ่อน ส่วนที่สองเป็นการศึกษาความหนาแน่นของปูที่ระดับต่างกันและระดับความหนาแน่นของสาหร่ายผมนางที่เหมาะสม ในส่วนแรกได้ทำการศึกษาโดยใช้ปูขาวระยะวัยรุ่น น้ำหนัก 0.02 กรัม ซึ่งได้ออกแบบแผนการทดลองโดยมีสองปัจจัยได้แก่ ปัจจัยด้านอาหาร 5 ชุดการทดลอง (PSP0, PSP2, PSP4, PSP6 และชุดควบคุม) และปัจจัยทางด้านการใช้สาหร่ายผมนางเป็นที่หลบซ่อน 2 ชุดการทดลอง (มีและไม่มีที่หลบซ่อน) โดยให้อาหารวันละ 8 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัว ทำการทดลองเป็นระยะเวลา 28 วัน จากการศึกษาพบว่า สูตรอาหารที่แตกต่างกันมีผลอย่างมีนัยสำคัญต่อน้ำหนักที่เพิ่มขึ้น อัตราการเจริญเติบโตจำเพาะของน้ำหนักตัว ประสิทธิภาพการใช้โปรตีน (P < 0.05) แต่ไม่มีผลต่ออัตราการแลกเนื้อ แอนไซม์คะตาเลส และอัตราการรอดตาย (P > 0.05) ของปูขาวระยะวัยรุ่น ผลจากการศึกษาปัจจัยของที่หลบซ่อนพบว่าปูขาวที่ใช้สาหร่ายผมนางเป็นที่หลบซ่อนมีประสิทธิภาพการใช้โปรตีน อัตราการแลกเนื้อ แอนไซม์คะตาเลส และอัตราการรอดตายแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ใช้สาหร่ายเป็นที่หลบซ่อน (P <0.05) อย่างไรก็ตามจากการทดลองครั้งนี้พบอิทธิพลร่วมระหว่างสองปัจจัยต่อน้ำหนักที่เพิ่มขึ้น อัตราการเจริญเติบโตจำเพาะของน้ำหนักตัว ประสิทธิภาพการใช้โปรตีน (P <0.05) ผลจากการศึกษาครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่าการใช้กุ้งเคย (ชุดควบคุม) เหมาะสมต่อการอนุบาลปูขาวระยะวัยรุ่นมากที่สุด อย่างไรก็ตามอาหารสำเร็จรูปเสริมด้วยสาหร่ายผมนางมีศักยภาพที่จะทดแทนกุ้งเคยได้ ถึงแม้ว่าประสิทธิภาพการเจริญเติบโตจะลดลงก็ตาม และการใช้สาหร่ายผมนางเป็นที่หลบซ่อนเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับปูขาวระยะวัยรุ่นโดยมีแนวโน้มการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย และแอนไซม์คะตาเลสสูง นอกจากนี้ การใช้สาหร่ายเป็นที่หลบซ่อนและการใช้อาหารสำเร็จรูปเสริมด้วยสาหร่ายผมนางระดับ 4 เปอร์เซ็นต์ (PSP4) มีการเจริญเติบโตและอัตราการรอดสูงเมื่อเทียบอาหารสูตรอื่นๆ สำหรับผลการทดลองความหนาแน่นของปูขาวและความหนาแน่นของสาหร่ายผมนางเพื่อเป็นที่หลบซ่อนต่ออัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของปูขาวระยะวัยรุ่น โดยออกแบบการทดลองโดยมีสองปัจจัยได้แก่ ความหนาแน่นของปูขาว (100, 200, 300 และ 400 ตัว/ตร.ม.) และความหนาแน่นของที่หลบซ่อน (100, 500, 1,000 กรัม/ตร.ม. และไม่มีที่หลบซ่อน) ให้อาหารด้วย PSP4 วันละ 8 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัวเป็นระยะเวลา 28 วัน ผลการศึกษาพบว่า ความหนาแน่นของปูขาวที่เลี้ยงในระดับที่ต่างกันมีผลต่อค่าประสิทธิภาพการใช้โปรตีนและอัตราการแลกเนื้ออย่างมีนัยสำคัญ (P <0.05) ความหนาแน่นของสาหร่ายผมนางเป็นที่หลบซ่อนมีผลอย่างมีนัยสำคัญต่อ ประสิทธิภาพการใช้โปรตีน อัตราการแลกเนื้อ และอัตราการรอดชีวิต (P <0.05) จากการทดลองสามารถสรุปว่าการเลี้ยงปูขาวที่ความหนาแน่น 400 ตัว/ตร.ม. และการใส่สาหร่ายผมนางที่ความหนาแน่น 1,000 กรัม/ตร.ม. เป็นแนวทางที่เหมาะสมสำหรับอนุบาลปูขาวระยะวัยรุ่น ผลการศึกษาครั้งนี้จะช่วยพัฒนาเทคนิคและวิธีใหม่สำหรับการพัฒนาแนวทางการอนุบาลลูกปูขาวระยะวัยรุ่นต่อไปen_US
Appears in Collections:732 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6120320601.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons