Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19127
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กำแหง วัฒนเสน | - |
dc.contributor.author | ปิยะพงศ์ สังควังค์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-04T08:04:03Z | - |
dc.date.available | 2023-12-04T08:04:03Z | - |
dc.date.issued | 2020 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19127 | - |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ธรณีฟิสิกส์), 2563 | en_US |
dc.description.abstract | Application of geophysics for geotechnical engineering problems in Hat Yai District, This research has applied electrical resistivity tomography (ERT) with ground penetrating radar (GPR) for soft soil problem to study the geological structure and extent of soft soil In the Southern Region Industrial Estate, Phase 2, Chalung Sub-district, Hat Yai District, Songkhla Province, and applied ground penetrating radar (GPR) for road subsidence problem to find the geological structure of subsurface and analyze the causes of road subsidence in the area of Khlong Hae Security Checkpoint and Chonthara Road Khlong Toei Riverside (Kong Khong Market), Hat Yai District, Songkhla Province The results of electrical resistivity tomography can be divided into two groups, the soft soil group having the resistivity of less than 40 ohm-meters and the non-soft soil having the resistivity of more than 40 ohm-m and the result of the ground-penetrating radar can differentiate signals between soft ground and non-soft soil. The results of ground penetrating radar in the study of road subsidence at the Khlong Hae security checkpoint founded small cavities (0.5-1.5 m) in many survey lines and the Chonthara Road Khlong Toei Riverside (Khong Khong Market) founded a relatively large cavity (1-3 m). In both areas, the geological structure of subsurface has been damaged by subsidence in a wide area and deep down to the waste water collection line. The cause of the subsidence of roads is expected to be related to sewage pipes. The applications of both electrical resistivity tomography and ground penetrating radar both are suitable for solving geotechnical engineering problems. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | ธรณีฟิสิกส์ | en_US |
dc.subject | วิศวกรรมธรณีเทคนิค | en_US |
dc.title | การประยุกต์วิธีการทางธรณีฟิสิกส์สำหรับงานทางด้านวิศวกรรมธรณีเทคนิค | en_US |
dc.title.alternative | Application of Geophysical Methods for Geotechnical Engineering | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Science (Physics) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาฟิสิกส์ | - |
dc.description.abstract-th | การประยุกต์วิธีทางธรณีฟิสิกส์สําหรับงานทางด้านวิศวกรรมธรณีเทคนิค ในบริเวณที่เกิดปัญหาในอําเภอหาดใหญ่ งานวิจัยนี้ได้ประยุกต์วิธีวัดค่าสภาพต้านทานไฟฟ้า (ERT) ร่วมกับวิธีเรดาร์หยั่งลึกชั้นดิน (GPR) มาใช้แก้ปัญหาดินอ่อนเพื่อศึกษาลักษณะโครงสร้างทาง ธรณีวิทยาและขอบเขตของชั้นดินอ่อนบริเวณพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมภาคใต้ เฟส 2 ตําบลฉลุง อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และประยุกต์วิธีเรดาร์หยั่งลึกชั้นดิน (GFR) มาใช้แก้ปัญหาถนน ทรุดตัว เพื่อหาลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาของชั้นดินและวิเคราะห์หาสาเหตุการทรุดตัวของถนน บริเวณด่านตรวจความมั่นคงคลองแห และบริเวณถนนชลธารา แนวริมคลองเตย (ตลาด โก้งโค้ง) อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ผลวิธีวัดค่าสภาพต้านทานไฟฟ้ากับปัญหาชั้นดินอ่อน พบโครงสร้างทาง ธรณีวิทยาภายใต้ผิวดินสามารถแบ่งได้เป็นสองกลุ่ม คือ กลุ่มที่เป็นดินอ่อนมีค่าสภาพต้านทาน ไฟฟ้าน้อยกว่า 40 โอห์ม-เมตร และส่วนที่ไม่เป็นดินอ่อนมีค่าสภาพต้านทานไฟฟ้ามากกว่า 40 โอห์ม-เมตร และผลวิธีเรดาร์หยั่งลึกชั้นดินสามารถแยกความแตกต่างของสัญญาณระหว่างบริเวณที่ เป็นดินอ่อนกับบริเวณที่ไม่เป็นดินอ่อนได้ ผลวิธีเรดาร์หยั่งลึกชั้นดินในการศึกษาการทรุดตัวของ ถนนบริเวณด่านตรวจความมั่นคงคลองแห พบโพรงขนาดเล็ก (0.5-1.5 เมตร) ในหลายแนวสํารวจ และบริเวณถนนชลธารา แนวริมคลองเตย (ตลาดโก้งโค้ง) พบกลุ่มโพรงขนาด 1-3 เมตร ทั้งสอง พื้นที่พบโครงสร้างทางธรณีวิทยาภายใต้ผิวดินมีความเสียหายจากดินทรุดตัวเป็นบริเวณกว้างและลึกลงไปถึงแนวท่อรวบรวมน้ําเสีย สาเหตุของการทรุดตัวของถนนคาดว่ามีความสัมพันธ์กับท่อ บําบัดน้ําเสีย ในการประยุกต์วิธีวัดค่าสภาพต้านทานไฟฟ้า และวิธีเรดาร์หยั่งลึกชั้นดิน ทั้งสองวิธีมี ความเหมาะสมในการนํามาใช้แก้ปัญหางานทางด้านวิศวกรรมธรณีเทคนิค | en_US |
Appears in Collections: | 332 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
447052.pdf | 31.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License