Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19096
Title: ปัจจัยที่มีผลต่อการค้างชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบางกล่ำ จำกัด อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
Other Titles: Factors affecting outstanding balance among members of Bang Klam agricultural cooperative, ltd., Songkhla province
Authors: สุเมธ พรหมอินทร์
วิเชตร์ สุวรรณบุญโณ
Faculty of Liberal Arts (Educational Foundation)
คณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาสารัตถศึกษา
Keywords: สหกรณ์การเกษตร;เกษตรกร ภาวะเศรษฐกิจ
Issue Date: 2018
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: The purposes of this study were to investigate 1) personal factors and economic factors and their relationships with outstanding debts among members of Bang Klam Agricultural Cooperative, Ltd., Bang Klam District, Songkhla Province; 2) factors affecting outstanding debts among members of Bang Klam Agricultural Cooperative, Ltd., Bang Klam District, Songkhla Province; and 3) characteristics of members who had outstanding debts and ways to reduce outstanding debts among members of Bang Klam Agricultural Cooperative, Ltd., Bang Klam District, Songkhla Province. The study was conducted in four sub-districts: Bang Klam, Tha Chang, Mae Thom, and Ban Han. Data were collected through asking 267 members of Bang Klam Agricultural Cooperative, Ltd., and the data were analyzed using the R program, frequency, percentage, chi-square test, odds ratio, and logistic regression analysis. Data were also collected through in-depth interviews with 16 members, and 4 officers of the cooperative. Then content analysis was performed with the data. The results of the study were as follows. 1. The personal factors significantly associated with outstanding debts of most members (50.56%) of Bang Klam Agricultural Cooperative, Ltd., were age, the number of income earners in the household, total household income, and total household expense. 2. Three factors significantly affecting outstanding debts of members of the cooperative at the level .0001, .01, and .05 were: the total household income, the number of income earners in the household, and the age of members, respectively. Members who were with a high chance of having outstanding debts were as follows. Members whose household had only one income earners had 4.60 times (95% CI 1.70, 12.43); members with the total household income of 15,001--20,000 Baht had 3.92 times (95% CI 1.83, 8.40); members with the total household income below 15,000 Baht had 3.52 times (95% CI 1.20, 10.30); members in the age range 41-50 years old had 2.61 times (95% CI 1.40, 4.89); and members whose household had two income earners had 2.51 times (95% CI 1.02, 6.19) higher chance to have outstanding debts. 3. The characteristics of members who had outstanding debts were: members in the age range 41-50 years old due to easy opportunity to access capital sources and their high material value; members from households with only one income earner with only one way of earnings; members whose total household income in the range 15,001--20,000 Baht with household expenses and who were rubber farmers. Five ways to reduce outstanding debts were found: loan interest reduction; loan modification; checking the purposes of loan use; planning and providing members with knowledge about debt repayment; and promoting members to keep household accounts.
Abstract(Thai): การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านส่วนบุคคล ปัจจัยด้านเศรษฐกิจกับการค้างช่าระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบางกล่่า จ่ากัด อ่าเภอบางกล่่า จังหวัดสงขลา 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการค้างช่าระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบางกล่่า จ่ากัด อ่าเภอบางกล่่า จังหวัดสงขลา และ 3) คุณลักษณะของสมาชิกที่ค้างช่าระหนี้และแนวทางการลดหนี้ที่ค้างช่าระของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบางกล่่า จ่ากัด อ่าเภอบางกล่่า จังหวัดสงขลา โดยศึกษาในพื้นที่ต่าบลต่าง ๆ ของอ่าเภอบางกล่่า จ่านวน 4 ต่าบล คือ ต่าบลบางกล่่า ต่าบลท่าช้าง ต่าบลแม่ทอม และต่าบลบ้านหาร เก็บข้อมูลโดยการสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบางกล่่า จ่ากัด จ่านวน 267 คน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมอาร์ (R Program) หาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าการทดสอบไคสแควร์ ค่าอัตราส่วนออดส์ และวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์โลจิสติกส์ และเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกโดยผู้ให้ข้อมูลหลักที่เป็นสมาชิกที่ค้างช่าระหนี้ จ่านวน 16 คน และคณะกรรมการ เจ้าหน้าที่ 4 คน แล้วนำข้อมูลที่ได้มำวิเครำะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีกำรวิเครำะห์เชิงเนื้อหำ (Content Analysis) ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. สมาชิกสหกรณ์การเกษตรบางกล่่า จ่ากัด ร้อยละ 50.56 ที่ค้างช่าระหนี้โดยสมาชิกสหกรณ์ที่มีอายุ สมาชิกสหกรณ์ที่มีจ่านวนบุคคลในครัวเรือนที่ท่างานหารายได้ สมาชิกสหกรณ์ที่มีรายได้ทั้งสิ้นของครัวเรือน และสมาชิกสหกรณ์ที่มีค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นของครัวเรือน มีความสัมพันธ์กับการค้างช่าระหนี้อย่างมีนัยส่าคัญทางสถิติ 2. ปัจจัยที่มีผลต่อการค้างช่าระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์อย่างมีนัยส่าคัญทางสถิติที่ระดับ .001 , .01 และ .05 มี 3 ตัวแปร ได้แก่ รายได้ทั้งสิ้นของครัวเรือน จ่านวนบุคคลในครัวเรือนที่ท่างานหารายได้ และอายุของสมาชิก ตามล่าดับ โดยสมาชิกที่มีโอกาสค้างช่าระหนี้ในสัดส่วนที่สูง ได้แก่ จ่านวนบุคคลในครัวเรือนที่ท่างานหารายได้ 1 คน 4.60 เท่า(95%CI 1.70,12.43) รายได้ทั้งสิ้นของครัวเรือน 15,001--20,000 บาท 3.92 เท่า(95%CI 1.83,8.40) รายได้ทั้งสิ้นของครัวเรือน ต่่ากว่า 15,000 บาท 3.52 เท่า(95%CI 1.20,10.30) สมาชิกสหกรณ์ที่มีอายุ 41 -- 50 ปี 2.61 เท่า(95%CI 1.40,4.89) และจ่านวนบุคคลในครัวเรือนที่ท่างานหารายได้ 2 คน 2.51 เท่า(95%CI 1.02,6.19) 3. คุณลักษณะของสมาชิกที่ค้างช่าระหนี้และแนวทางในการลดหนี้ที่ค้างช่าระ พบว่า สมาชิกที่มีอายุ 41--50 ปี มีโอกาสเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ง่ายและมีค่านิยมทางวัตถุสูงขึ้น ทั้งนี้พบว่าจ่านวนสมาชิกในครัวเรือนที่ท่างานหารายได้ 1 คน มีเพียงคนเดียวและมีรายได้ทางเดียว ส่วนสมาชิกที่มีรายได้ทั้งสิ้น 15,001--20,000 บาท เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายในครัวเรือนกับสมาชิกที่มีอาชีพท่าสวนยางพารา ส่าหรับแนวทางในการลดการค้างช่าระหนี้ มี 5 แนวทางประกอบด้วยการลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ การปรับสัญญาเงินกู้ใหม่ การตรวจสอบวัตถุประสงค์การใช้เงินกู้ การวางแผนและให้ความรู้แก่สมาชิกในการช่าระคืนเงินกู้ และการส่งเสริมให้สมาชิกท่าบัญชีครัวเรือน
Description: ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนามนุษย์และสังคม), 2561
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19096
Appears in Collections:895 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
433157.pdf2.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons