Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19069
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เสกสรร สุธรรมานนท์ | - |
dc.contributor.author | อาลาวี ลาเต๊ะ | - |
dc.date.accessioned | 2023-11-17T02:23:31Z | - |
dc.date.available | 2023-11-17T02:23:31Z | - |
dc.date.issued | 2018 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19069 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม. (วิศวกรรมโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 | en_US |
dc.description.abstract | In this reserch, we provide some insights to this problem called Home to Hospital Transport Planning (HHTP) for Elderly who need to go to the hospital without personal car. In other word, Door to Door service with timetable is employed to reduce transportation cost. The case study is Hatyai District, Songkhla Province, Thailand. The number of elderly people who visiting the hospital for doctor appointment by selves rided are almost 150,000 trips per year. In this view point we use an algorithm with standard VRPTW problem in ArcGIS 10.2 software to solve this problem. The researcher provides 3 model for solving the problem the first is VRPTW by using Hospital for depot after run the model the result shows that the distance can be decrease 65.64 percent from 2,619,334.80 km./year to 657,000 km./year. Second is VRPTW by using depot point from Location Allocation Problem (LAP) for maximize covering after run the model the result shows that the distance can be decrease to 512,331.65 km./year. And the third is VRPTW by set first demand ponit of these day for depot each zone after run the model the result shows that the distance can be decrease to 513,989.98 km./year. In another part of these researce propose calculatione about how to optimization of investment in these projects if some private company or gonrventment sector need to invest the financial analysis showed that the case of 100% and 80% customer use service. buy a Van is the only suitable investment indicate by IRR is more than MARR values. And researcher also do some questionnaire about behavior of trveling situation and attitude for elderly people and compare the various types of transportation currently in Hatyai District with HHTP to shows different types of services, schedules, coverage, and fares. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การขนส่ง หาดใหญ่ (สงขลา) การวางแผน | en_US |
dc.subject | การวางแผนผู้สูงอายุ | en_US |
dc.subject | การขนส่ง หาดใหญ่ (สงขลา) ต้นทุนและประสิทธิผล | en_US |
dc.title | การวางแผนการให้บริการขนส่งสำหรับผู้สูงอายุ กรณีศึกษาอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา | en_US |
dc.title.alternative | Transportation Service Planning for Elderly Person Case Study Hatyai District, Songkhla Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Engineering (Industrial Engineering) | - |
dc.contributor.department | คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ | - |
dc.description.abstract-th | งานวิจัยนี้ ได้นําเสนอรูปแบบการวางแผนการให้บริการขนส่งสําหรับผู้สูงอายุ โดยมี วัตถุประสงค์ที่เพื่อขนส่งผู้สูงอายุจากบ้านไปยังโรงพยาบาล (Home to Hospital Transport Planning, HHTP) ซึ่งเป็นรูปแบบการให้บริการแบบประตูถึงประตูโดยรถบริการจะไปรับผู้รับบริการ ถึงที่และไปส่งยังโรงพยาบาล เพื่อลดต้นทุนและระยะทางการขนส่ง โดยใช้ปัญหาการจัดเส้นทางเดิน รถแบบมีกรอบเวลา (VRPTW) ในโปรแกรม ArcGis 10.2 ในการแก้ปัญหาโดยใช้ประชากรผู้สูงอายุใน พื้นที่อําเภอหาดใหญ่ ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลหาดใหญ่ จํานวนกว่า 150,000 ครั้งต่อปีเป็น กรณีศึกษา โดยนําเสนอรูปแบบการให้บริการทั้งหมด 3 รูปแบบ คือ (1) การจัดเส้นทางเดินรถโดยมี กรอบเวลา โดยกําหนดจุดเริ่มต้น คือโรงพยาบาลสามารถลดระยะทางการขนส่งจากปัจจุบัน 2,619,334.80 กม./ปี เป็น 657,000 กม./ปี (2) การจัดเส้นทางเดินรถโดยมีกรอบเวลาโดยใช้ตัวแบบ การวิเคราะห์หาที่ตั้งและการจัดสรรหรือ Location Allocation Problem (LAP) เพื่อนําตําแหน่งจุด จอดรถที่ครอบคลุมผู้สูงอายุมากที่สุด โดยกําหนดจุดเริ่มต้น คือตําแหน่งของศูนย์บริการรับ-ส่งจากผล ของการใช้ตัวแบบ LAP ได้ระยะทางรวมลดลงเหลือ 512,331.65 กม./ปี (3) การจัดเส้นทางเดินรถ โดยมีกรอบเวลา โดยกําหนดจุดเริ่มต้น คือตําแหน่งของผู้สูงอายุที่รถบริการต้องไปรับคนแรก ระยะทางรวมลดลงเหลือ 513,989.98 กม./ปี ซึ่งทั้ง 3 รูปแบบสามารถลดระยะทางรวมได้ ผลจาก การวิเคราะห์ความคุ้มทุนของโครงการแบ่งเป็น 2 รูปแบบคือ (1) ลงทุนซื้อรถ และ (2) ไม่ลงทุนซื้อรถ โดยแบบที่ 1 ซื้อรถ มีผู้รับบริการร้อยละ 100 แบบที่ 1 ซื้อรถ มีผู้รับบริการร้อยละ 80 และแบบที่ 2 ไม่ซื้อรถ มีผู้รับบริการร้อยละ 100 ได้ค่า NPV เป็นบวก ส่วน แบบที่ 1 ซื้อรถ มีผู้รับบริการร้อยละ 50 ได้ค่า NPV เป็นลบ เป็นต้น จากผลการวิเคราะห์ทางการเงินพบว่ากรณีที่มีผู้ใช้บริการร้อยละ 100 ร้อยละ 80 และ แบบที่ไม่ซื้อรถ เท่านั้นที่เหมาะสมในการลงทุน โดยมีตัวชี้วัดเป็น IRR เทียบกับ MARR | en_US |
Appears in Collections: | 228 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
434761.pdf | 5.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License