Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19064
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุนันทา เหมทานนท์ | - |
dc.contributor.author | เสาวรภย์ สุวรรณกิจ | - |
dc.date.accessioned | 2023-11-16T09:04:21Z | - |
dc.date.available | 2023-11-16T09:04:21Z | - |
dc.date.issued | 2018 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19064 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (การตลาด))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 | en_US |
dc.description.abstract | The study aimed to The Influences of Product Recovery and Services, Electronic word of Mouth Marketing and Trust Affecting to Brand Loyalty Hat Yai District, Songkhla province. The samples were 385 consumers, who had experiences in using products and had problems in services within the past 6 months. Data were collected through the questionnaire Online, and analyzed by frequency, mean, percentage, standard deviation, and multiple regression analysis. The results revealed that 1) product recovery and services influenced brand loyalty at statistically significant level 0.01, suggesting that if a brand owner can notify consumers about the recovery of their products and services, it will increase consumer loyalty; 2) viral marketing via electronics had impact on brand loyalty at statistically significant level 0.01, indicating that if a brand owner has good services, which made more viral marketing via electronics, it will increase consumer loyalty.; and 3) trustfulness had impact on brand loyalty at statistically significant level 0.01, suggesting that if a brand owner focuses on services promoting the trustfulness of consumers, it will increase consumer loyalty. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | ความภักดีของลูกค้า หาดใหญ่ (สงขลา) | en_US |
dc.subject | ความพอใจของผู้บริโภค หาดใหญ่ (สงขลา) | en_US |
dc.title | อิทธิพลของการกู้คืนผลิตภัณฑ์และบริการ การตลาดแบบปากต่อปากผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์และความไว้วางใจที่มีผลต่อความภักดีของผู้บริโภคในเขตพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา | en_US |
dc.title.alternative | The Influences of Product Recovery and Services, Electronic word of Mouth Marketing and Trust Affecting to Brand Loyalty Hat Yai District, Songkhla province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Business Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัย เรื่อง อิทธิพลของการกู้คืนผลิตภัณฑ์และบริการ การตลาดแบบปากต่อปาก ผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ และความไว้วางใจที่มีผลต่อความภักดีของผู้บริโภคในเขตพื้นที่อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการกู้คืนผลิตภัณฑ์และบริการ การตลาดแบบปากต่อปากผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ และความไว้วางใจที่มีผลต่อความภักดีของผู้บริโภคในเขตพื้นที่อําเภอ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริโภคที่มีประสบการณ์ใช้งานและประสบปัญหาเกี่ยวกับ การใช้ผลิตภัณฑ์และการบริการ ในประเภทต่าง ๆ ภายในระยะเวลา 6 เดือนที่ผ่านมา จํานวน 385 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามออนไลน์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า 1) การกู้คืนผลิตภัณฑ์และบริการมีอิทธิพลต่อความภักดีในตราสินค้า อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นั้นหมายความว่าหากธุรกิจหรือเจ้าของตราสินค้า ทําให้ผู้บริโภค รับรู้ว่ามีการกู้คืนผลิตภัณฑ์และบริการมากขึ้น จะทําให้ผู้บริโภคเกิดความภักดีเพิ่มขึ้น 2) การตลาดแบบปากต่อปากผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์มีอิทธิพลต่อความภักดีในตราสินค้าของผู้บริโภคในเขตพื้นที่ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นั้นหมายความว่า หากธุรกิจ หรือเจ้าของตราสินค้ามีการบริการที่ดี จนเกิดการบอกต่อแบบปากต่อปากผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น จะทําให้ผู้บริโภคเกิดความภักดีเพิ่มขึ้น และ 3) ความไว้วางใจมีอิทธิพลต่อความภักดีในตราสินค้าของ ผู้บริโภคในเขตพื้นที่ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นั้นหมายความว่า นั่นหมายความว่า หากธุรกิจหรือเจ้าของตราสินค้า มุ่งเน้นการบริการที่สามารถสร้างความไว้วางใจให้ มากขึ้น จะทําให้ผู้บริโภคเกิดความภักดีเพิ่มขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | 460 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
432963.pdf | 2.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License