Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19054
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนตรี มีเนียม-
dc.contributor.authorฉัตรชัย เบ็ญโกบ-
dc.date.accessioned2023-11-16T07:31:50Z-
dc.date.available2023-11-16T07:31:50Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19054-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ภาษาไทยและภาษาไทยประยุกต์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561en_US
dc.description.abstractThis research aims at studying and analyzing the adaptation techniques of the novel "Chaochunphomhorm Niratphrathatinkhwaen" into a modern play for the target audience. Another aim of this research is comparing the storytelling and differences in the structure of the adapted modern play with the storytelling and structure of its original work. The findings have uncovered the five techniques used in the adaptation of the novel into the modern play: 1) sequencing events in chronological order for the audience to understand the story easily; 2) proceeding the play with conflicts among characters and in the characters' minds to arouse the audience's attention; 3) including dancing and singing to engage and excite the audience; 4) inserting jokes to attract the audience; 5) incorporating current social issues into the play to make the audience connected to the characters better. With reference to the storytelling and differences in the structures of the adapted modem play and its original work, it is apparent that the author of the modern play used the objective narration to narrate the story. In other words, the audience could perceive the story through conversations and behaviors of the characters; this is in contract with the author of the novel who narrated the story as the first person narrator and through the characters' stream of consciousness. In connection with the comparison of the structures of the modem play and novel, it turns out the modem play's author retained the novel's structure in the adaptation, however only with change in his sequencing of events in chronological order. Although he maintained the personality and roles of main characters, he added new characters to narrate the story on behalf of the novel's author. Further, he continued using some original conversations believed to communicate best with the audience, while at the same time adapted and simplified some to be of daily conversations. To make the play easy to understand, some dramatic scenes were added, while maintaining important scenes of the novel. Overall, the play's author successfully retains the novel's theme, that is, keeping words is an essential component of moral qualities and great human dignity.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectละครเวทีen_US
dc.subjectนวนิยายen_US
dc.subjectบทละครen_US
dc.subjectการดัดแปลงเป็นละครen_US
dc.titleเจ้าจันท์ผมหอม นิราศพระธาตุอินทร์แขวน การตัดแปลงนวนิยายเป็นบทละครเวทีสมัยใหม่en_US
dc.title.alternativeChaochunphomhorm,Niratphrathatinkhwaen A Novel Adaptation into a Modern Playen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Liberal Arts (Educational Foundation)-
dc.contributor.departmentคณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาสารัตถศึกษา-
dc.description.abstract-thการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์กลวิธีในการดัดแปลงนวนิยายเรื่อง เจ้าจันท์ผมหอม นิราศพระธาตุอินทร์แขวนเป็นบทละครเวทีสมัยใหม่ที่สอดคล้องกับความสนใจของ ผู้ชมกลุ่มเป้าหมาย และศึกษาเปรียบเทียบการเล่าเรื่องและความแตกต่างทางโครงสร้างของบทละครสมัยใหม่ที่ดัดแปลงจากนวนิยายกับการเล่าเรื่องและโครงสร้างของวรรณกรรมต้นเรื่อง ผลการวิจัยพบว่า ผู้ดัดแปลงได้ใช้กลวิธีในการดัดแปลงนวนิยายเป็นบทละครเวที สมัยใหม่ 5 ลักษณะคือ 1) เรียงลําดับเนื้อหาในการนําเสนอตามลําดับเวลาเพื่อให้ผู้ชมเข้าใจได้ง่าย 2) ดําเนินเรื่องด้วยการสร้างความขัดแย้งเป็นระยะๆ เพื่อเร้าความสนใจของผู้ชมทั้งความขัดแย้ง ระหว่างตัวละครด้วยกันและความขัดแย้งภายในใจของตัวละคร 3) ใช้การร่ายรําและการขับร้องสร้าง ความตื่นตาตื่นใจให้กับผู้ชม 4) แทรกบทตลกขบขันเพื่อดึงดูดความสนใจและ 5) แทรกเหตุการณ์ ปัจจุบันเข้าไปในละครเพื่อให้ผู้ชมรู้สึกว่าเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในละครเป็นเรื่องใกล้ตัว ในส่วนของการเปรียบเทียบการเล่าเรื่องและความแตกต่างทางโครงสร้างของบทละครสมัยใหม่ที่ดัดแปลงจากนวนิยายต้นเรื่องพบว่า ผู้ประพันธ์บทละครใช้วิธีการเล่าเรื่องแบบตากล้องหรือแบบวัตถุวิสัยโดยให้ผู้ชมรับรู้เหตุการณ์ทั้งหมดผ่านพฤติกรรมและบทสนทนาของ ในขณะที่ผู้ประพันธ์นวนิยายต้นเรื่องใช้วิธีการเล่าเรื่องแบบผู้รู้รอบสลับกับการเล่าเรื่องแบบตัวละคร กระแสสํานึกของตัวละครสําคัญ ส่วนการเปรียบเทียบโครงสร้างของบทละครกับนวนิยายต้นเรื่อง พบว่า ผู้ประพันธ์บทละครยังคงโครงเรื่องในนวนิยายต้นเรื่องไว้ เพียงแต่เรียงลําดับเนื้อหาและ เหตุการณ์ที่ตัดสลับไปมาให้ดําเนินไปตามลําดับเวลา คงลักษณะนิสัยและบทบาทของตัวละครสําคัญในนวนิยายต้นเรื่องและเพิ่มเติมตัวละครประกอบขึ้นมาส่วนหนึ่งเพื่อช่วยในการบรรยายแทน ผู้ประพันธ์ในนวนิยายต้นเรื่อง คงบทสนทนาในนวนิยายต้นเรื่องที่สามารถสื่อสารหรือสร้าง ความเข้าใจให้กับผู้ชม และดัดแปลงบทสนทนาในนวนิยายต้นเรื่องบางส่วนที่ยากต่อความเข้าใจของ ผู้ชมให้เป็นภาษาที่ใช้สนทนาในชีวิตประวัน คงฉากสถานที่และฉากนาฏการสําคัญในนวนิยายต้นเรื่อง และเพิ่มเติมฉากนาฏการขึ้นมาบางฉากเพื่อช่วยให้เนื้อหาในบทละครมีความชัดเจนเข้าใจได้ง่าย และผู้ประพันธ์บทละครยังคงแนวคิดในนวนิยายต้นเรื่องเอาไว้คือ การรักษาสัจจะเป็นคุณธรรมและศักดิ์ศรีที่มีค่ายิ่งของความเป็นมนุษย์en_US
Appears in Collections:895 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
426582.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons