Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18255
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พวงทิพย์ แก้วทับทิม | - |
dc.contributor.author | อลิษา ทวีลาภ | - |
dc.date.accessioned | 2023-10-17T08:47:42Z | - |
dc.date.available | 2023-10-17T08:47:42Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18255 | - |
dc.description | วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (ฟิสิกส์ประยุกต์), 2565 | en_US |
dc.description.abstract | The purpose of this research was to measure the level of radon gas by solid state nuclear track detector method. Along the Khaoden fault line Surat Thani Province, a distance of 23.2 kilometers, with 12 measuring stations collecting samples 12 times between August 2019 and August 2020 to predict the likelihood of an earthquake around the fault line. It was found that The KDF2, KDF3, KDF4 and KDF12 measuring stations have 2-10 times the radon concentration several times higher than the reference location. Which is prone to earthquakes Therefore, such measuring stations should be used as earthquake monitoring stations where radon gas should be continuously monitored. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.title | การตรวจสอบความเข้มข้นของก๊าซเรดอนเพื่อคาดคะเนการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณรอยเลื่อนเขาเด่น จังหวัดสุราษฎร์ธานี | en_US |
dc.title.alternative | Monitoring of Radon Concentration to Predict Earthquakes at Khaoden Fault, Surat Thani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ | - |
dc.contributor.department | Faculty of Science and Technology (Science programs) | - |
dc.description.abstract-th | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจวัดระดับก๊าซเรดอนด้วยวิธีหัววัดรอยนิวเคลียร์แบบของแข็ง ตามแนวรอยเลื่อนเขาเด่น จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นระยะทาง 23.2 กิโลเมตร โดยมีสถานีตรวจวัด 12 สถานี ทำการเก็บตัวอย่าง 12 ครั้งระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ.2562 ถึง เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2563 เพื่อคาดคะเนโอกาสที่จะเกิดแผ่นดินไหวบริเวณรอยเลื่อนดังกล่าว พบว่า สถานีตรวจวัด KDF2, KDF3, KDF4 และ KDF12 มีค่าความเข้มข้นของก๊าซเรดอนสูงกว่าตำแหน่งอ้างอิง 2-10 เท่า จำนวนหลายครั้ง ซึ่งมีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดแผ่นดินไหวได้ ดังนั้นสถานีตรวจวัดดังกล่าวควรใช้เป็นสถานีเฝ้าระวังการเกิดแผ่นดินไหวโดยควรมีการตรวจวัดก๊าซเรดอนอย่างต่อเนื่อง | en_US |
Appears in Collections: | 722 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6220320801.pdf | 6.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License