Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18252
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วฤทธิ์ วิชกูล | - |
dc.contributor.author | วสวัตติ์ ศรีนาค | - |
dc.date.accessioned | 2023-10-17T08:30:52Z | - |
dc.date.available | 2023-10-17T08:30:52Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18252 | - |
dc.description | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า), 2566 | en_US |
dc.description.abstract | This research presented the calculation and design fault location of Provincial Electricity Authority’s (PEA) distribution system by using traveling wave single-ended for calculate the estimate’s distance of fault location. The calculation and summarization were divided into 4 parts: 1) the fault location has been calculated by simulation model using MATLAB Simulink, to simulates fault in 115 kV transmission lines of Provincial Electricity Authority that presented the distance’s position calculation comparative between impedance method in transmission line and traveling wave single-ended 2) Design the fault current record by testing with circuit simulator in laboratory 3) Algorithm testing, calculate the estimate of distance and calculate from the data in 115 kV distribution system of the Provincial Electricity Authority (PEA) and 4) Prediction the cause of the fault by using the distance recorded from the distribution system, while fault and to compared with the outage and maintenance database of the Provincial Electricity Authority (PEA), the result was accurate and acceptable. This research will increase the efficiency of outage correction and be the option to calculate the estimate’s distance of fault location. Keyword: traveling wave single-ended, impedance method in transmission line, fault distance, 115 kV transmission lines | en_US |
dc.description.sponsorship | การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | Fault distance | en_US |
dc.subject | Traveling wave | en_US |
dc.title | ระบบประมวลผลตำแหน่งและประเภทของความผิดพร่องสำหรับระบบจำหน่าย ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยใช้หลักการคลื่นจร | en_US |
dc.title.alternative | Fault Location and Classification System for Distribution of PEA using Traveling Wave Theory | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Engineering Electrical Engineering | - |
dc.contributor.department | คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า | - |
dc.description.abstract-th | งานวิจัยนี้นำเสนอการคำนวณและออกแบบระบบค้นหาตำแหน่งจุดผิดพร่องในระบบจำหน่ายของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยใช้การคำนวณตำแหน่งระยะทางของการเกิดความผิดพร่องผิดพร่องด้วยวิธีคำนวณแบบคลื่นจรโดยอาศัยหลักการสะท้อนแบบปลายเดียว (traveling wave single ended) โดยแบ่งการคำนวณและสรุปผลออกเป็น 4 ส่วนคือ ส่วนแรกคือ การคำนวณตำแหน่งระยะทางของความผิดพร่องด้วยแบบจำลองคอมพิวเตอร์ (MATLAB Simulink) ที่ทำการจำลองความผิดพร่องในระบบสายส่ง 115 เควี ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค นำเสนอการคำนวณตำแหน่งระยะทางเปรียบเทียบกันระหว่าง วิธีคำนวณด้วยอิมพีแดนซ์ภายในสายส่ง และการคำนวณด้วยคลื่นจรโดยใช้หลักการสะท้อนแบบปลายเดียว ส่วนที่สองคือการออกแบบเครื่องมือบันทึกกระแสของความผิดพร่องโดยทำการทดสอบกับวงจรจำลองในห้องปฏิบัติการ ส่วนที่สามคือ การทดสอบอัลกอริทึม การค้นหา ตำแหน่งระยะทาง และการคำนวณจากข้อมูลในระบบจำหน่าย 115 เควี ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและส่วนสุดท้ายเป็นการทำนายสาเหตุของการเกิดความผิดพร่องโดยใช้ระยะทางที่บันทึกได้จากระบบจำหน่ายขณะเกิดความผิดพร่อง นำมาเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลไฟฟ้าขัดข้องและบำรุงรักษาของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยผลที่ได้มีความแม่นยำอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ ซึ่งเป็นแนวทางที่จะเพิ่มประสิทธิภาพของการแก้ไฟฟ้าขัดข้องและเพิ่มทางเลือกในการคำนวณระยะทางการเกิดความผิดพร่องจากการคำนวณที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคใช้อยู่ในปัจจุบัน คำสำคัญ: คลื่นจรแบบปลายเดียว อิมพีแดนซ์ของสายส่ง ระยะทางความผิดพร่อง ระบบ 115 เควี | en_US |
Appears in Collections: | 210 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6310120088.pdf | 13.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License