Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18236
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปราโมทย์ ทองสุข-
dc.contributor.authorชุติมา ดำศิริ-
dc.date.accessioned2023-10-16T07:38:44Z-
dc.date.available2023-10-16T07:38:44Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18236-
dc.descriptionพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารทางการพยาบาล), 2566en_US
dc.description.abstractThis descriptive qualitative research aimed (1) to describe (1) the experiences of using Information and communication technologies (ICTs) in nursing administration by head nurses and (2) to explore the problems of using ICTs for nursing administration. The informants were 25 professional nurses who were purposively selected an had worked as head nurses in a tertiary hospital for least 2 years. Data were collected by in-depth interviews. Demographic data were analyzed using descriptive statistics. Qualitative data were analyzed using content analysis. The results showed that: 1. The experiences in using ICTs of head nurses in the tertiary hospital for nursing administration had 3 parts: (1) personnel management such as planning for nursing workforce management, scheduling and managing compensation, (2) driving quality of nursing care such as managing information that indicates quality and risks management, and 3) organizational communications such as online meetings, Important notification, and paper communication replacement. 2. The issues and problems of using ICTs for nursing administration as perceived by head nurses consisted of 5 issues: (1) enhancing the efficiency of nursing administration, (2) developing their IT competency, (3) Increasing nurses’ participation in managing nursing data, (4) insufficiency of the IT support system demand, and (5) developing anxiety among head nurses at the beginning of the change and changing of life balance changed. The results of this study are useful in nursing administration to develop ITCs competency and to be incorporated in the procedure for selection of new nurses.en_US
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยen_US
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารen_US
dc.subjectหัวหน้าหอผู้ป่วยen_US
dc.subjectโรงพยาบาลตติยภูมิen_US
dc.titleประสบการณ์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง ภาคใต้en_US
dc.title.alternativeThe use of Information and Communication Technology Experienced by Head Nurses in a Tertiary Hospital, Southern Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Nursing (Nursing Administration)-
dc.contributor.departmentคณะพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาการบริหารทางการพยาบาล-
dc.description.abstract-thการวิจัยเชิงคุณภาพแบบบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรยาย (1) ประสบการณ์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของหัวหน้าหอผู้ป่วย และ (2) ผลที่เกิดขึ้นและปัญหาของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผู้ให้ข้อมูลเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยใน อย่างน้อย 2 ปี จำนวน 25 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เจาะลึก วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยใช้สถิติบรรยาย และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. ประสบการณ์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของหัวหน้าหอผู้ป่วย มี 3 ประเด็น คือ (1) ใช้ในการบริหารบุคลากร ได้แก่ บริหารอัตรากำลัง จัดตารางเวรและบริหารค่าตอบแทน วางแผนและพัฒนาบุคลากร และประเมินการปฏิบัติงานของบุคลากร (2) ใช้ในการขับเคลื่อนคุณภาพการพยาบาล ได้แก่ การจัดการตัวชี้วัดทางการพยาบาล และการจัดการความเสี่ยง และ (3) ใช้สื่อสารในองค์กร ได้แก่ การประชุมออนไลน์ การแจ้งเรื่องสำคัญ และทดแทนการสื่อสารด้วยกระดาษ 2. ผลที่เกิดขึ้นและปัญหาของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พบว่า มี 5 ประเด็น คือ (1) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารทางการพยาบาล (2) เพิ่มสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของหัวหน้าหอผู้ป่วย (3) เพิ่มการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการจัดการข้อมูลของหน่วยงาน4) ระบบสนับสนุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไม่เพียงพอกับความต้องการใช้งาน และ (5) หัวหน้าหอผู้ป่วยวิตกกังวลช่วงแรกของการเปลี่ยนแปลง และสมดุลชีวิตเปลี่ยนไป ผลการศึกษาครั้งนี้เป็นประโยชน์ต่อการบริหารการพยาบาลในการวางแผนเข้าสู่ตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย ที่จะต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งใช้เป็นส่วนหนึ่งของการพิจารณาคัดเลือกหัวหน้าหอผู้ป่วยใหม่en_US
Appears in Collections:649 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310420062.pdfเรื่อง ประสบการณ์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของหัวหน้าหอผู้โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง ภาคใต้6.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons