Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18173
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรางคณา ตันฑสันติสกุล | - |
dc.contributor.author | ชาญวิทย์ ชินกิจการ | - |
dc.date.accessioned | 2023-05-16T08:12:54Z | - |
dc.date.available | 2023-05-16T08:12:54Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18173 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ ( บธ.ม. (การตลาด))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2564 | en_US |
dc.description.abstract | The objectives of this research aimed to 1) compare the differences between the demographic factor and the decision-making on sharing economy accommodation through an agency. 2) Study the marketing mix strategy of websites that influence the decision making on the sharing economy accommodation through an agency. And 3) investigate the overseas travel behavior of Thai tourists' accommodation reservations through an agency associated with sharing economy accommodation reservation through an agency. Samples were 400 Thai tourists that travel overseas and reserved sharing economy accommodation through an agency in the past six months. The statistic tools were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and F-test with One-Way ANOVA, multiple regression analysis, and Chi-Square. The finding revealed that the differences of demographic factors such as age, marital status, average monthly income, and career influenced the level of decision making over the sharing economy accommodation through an agency as the statistically significant level at .05. Moreover, the marketing mix strategy played a role of 52.3% in attracting the decision making over the sharing economy accommodation through an agency as the statistically significant level at .05. The variable factors which able to statistically significantly forecast were pricing factor, place, promotion, product, and people. Also, the oversea travel behavior of Thai tourists such as traveling companion, motive over the decision, price of the accommodation, the frequency of reserving the accommodation, the purpose of the reservation, period of reservation, and reserving consideration factor correlated to the decision making on the sharing economy accommodation through an agency as the statistically significant level at 0.05. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | ที่พักนักท่องเที่ยว ไทย | en_US |
dc.title | การเลือกใช้บริการห้องพักผ่าน Agency ในแบบ Sharing Economy ของนักท่องเที่ยวไทยที่เดินทางไปยังต่างประเทศ | en_US |
dc.title.alternative | Choices of Thai Outbound Tourists on Sharing Economy Accommodation through the Agency | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Business Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างปัจจัยด้าน ประชากรศาสตร์กับการตัดสินใจเลือกใช้บริการห้องพักผ่าน Agency ในรูปแบบ Sharing Economy 2) ศึกษาปัจจัยกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดของเว็บไซต์ที่มีอิทธิพลผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้ บริการห้องพักผ่าน Agency ในรูปแบบ Sharing Economy และ 3) ศึกษาพฤติกรรมการท่องเที่ยว ต่างประเทศของนักท่องเที่ยวชาวไทยในการเลือกใช้บริการห้องพักผ่าน Agency มีความสัมพันธ์กับ การตัดสินใจเลือกใช้บริการห้องพักผ่าน Agency ในรูปแบบ Sharing Economy กลุ่มตัวอย่างเป็น นักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางท่องเที่ยวยังต่างประเทศ โดยเลือกใช้บริการห้องพักผ่าน Agency ใน รูปแบบ Sharing Economy ภายในระยะเวลา 6 เดือน ที่ผ่านมา จํานวน 400 ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของค่าที (t-test) ทดสอบ ค่าเอฟ (F-test) ด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวน (One-Way ANOVA) การวิเคราะห์การถดถอย แบบพหุคูณ และค่าสถิติไคสแควร์ (Chi-Square) ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ อายุ สถานภาพ รายได้เฉลี่ย ต่อเดือน และอาชีพต่างกัน ส่งผลต่อระดับการตัดสินใจเลือกใช้บริการห้องพักผ่าน Agency ในรูปแบบ Sharing Economy โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนกลยุทธ์ประสม ทางการตลาดมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้ห้องพักผ่าน Agency ในรูปแบบ Sharing Economy ได้ ร้อยละ 52.3 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ได้อย่างมีนัยสําคัญ ทางสถิติ ได้แก่ ด้านราคา ด้านการจัดจําหน่าย ด้านอํานาจการต่อรอง ด้านบรรจุภัณฑ์ และด้านการใช้ พนักงานขาย และยังพบว่า พฤติกรรมการท่องเที่ยวต่างประเทศของนักท่องเที่ยวชาวไทย ได้แก่ บุคคลที่ร่วมเดินทางด้วย เหตุผลในการเลือกใช้บริการ ราคาของห้องพัก ความถี่ในการใช้บริการ จองห้องพัก วัตถุประสงค์ของการจองห้องพัก ช่วงเวลาของในการจองห้องพัก และปัจจัยที่คํานึง เลือกจองห้องพัก มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจใช้ห้องพักผ่าน Agency ในรูปแบบ Sharing Economy อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | en_US |
Appears in Collections: | 460 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
448152.pdf | 2.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License