Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18169
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวสันต์ อติศัพท์-
dc.contributor.authorกนิกนันต์ กล้าหาญ-
dc.date.accessioned2023-05-16T07:24:49Z-
dc.date.available2023-05-16T07:24:49Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18169-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ด. (ภาวะผู้นำและนวัตกรรมทางการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2564en_US
dc.description.abstractThe purposes of this study aimed: 1) to study of the current conditions and direction of leadership development of undergraduate students, 2) to examine the component of factors affecting the authenticity of leadership development of undergraduate students, and 3) to propose the development model of authenticity of leadership for undergraduate students. The mixed methods research were conducted. A computer program was utilized to identify the factors by the confirmatory factor analysis and the structural equation modeling and followed by the professional experts confirming the model. The results of this study were as follows: 1. The university encouraged students to develop leadership by outcome- based education policies through academic and professional curriculum and extra- curricular activities. 2. The authenticity of leadership of undergraduate student consisted of 4 components with 45 indicators including; Awareness, Unbiased processing, Behaviour and Relational orientation. The result of confirmatory factor analysis of the model was found to be fit and reliable and all parameter estimates was a valid construct and achieved the suggested value; (x2 = 110.876; df = 97; p = .159; CFI = .956; GFI = .969; AGFI = .952; RMSEA = .018; Chi-square / DF 1.143). Therefore, the model was found to be fit and all parameters estimates were construct validity. 3. The development model of authenticity of leadership for undergraduate students consisted of four parts. Part 1 Principles and Objectives, Part 2 Components of authenticity of leadership of students, Part 3 Development process of student leadership model with 3 sections: 1) Input section, 2) process section - participatory learning, and Output section. Part 4 Evaluation of whole process.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectนักศึกษาปริญญาตรีen_US
dc.subjectภาวะผู้นำen_US
dc.titleรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำที่แท้สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.title.alternativeAuthentic Leadership Development Model for Undergraduate Students of Prince of Songkla Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Education (Educational Administration)-
dc.contributor.departmentคณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาบริหารการศึกษา-
dc.description.abstract-thการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาสภาพปัจจุบันและทิศทางของการพัฒนาภาวะผู้นําของ นักศึกษาระดับปริญญาตรี 2. เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นําที่แท้ของนักศึกษา และ 3. นําเสนอรูปแบบการสร้างภาวะผู้นําที่แท้ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี กระบวนการวิจัยใช้ การวิจัยแบบผสมผสาน วิเคราะห์ข้อมูลใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิง ยืนยัน วิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สําเร็จรูป และการรับรองรูปแบบ โดยใช้ผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการวิจัยพบว่า 1. มหาวิทยาลัยส่งเสริมการพัฒนาภาวะผู้นําในนักศึกษาตามนโยบายการจัดการศึกษาที่มุ่ง ผลลัพธ์ ทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพตามหลักสูตรและโครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนา นักศึกษา 2 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน พบว่า องค์ประกอบภาวะความจริงแท้ ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ความตระหนักรู้ 2) การประมวลผลอย่างไม่ลําเอียง 3) ความ ประพฤติแห่งตน และ 4) วิถีแห่งความสัมพันธ์ แบบจําลององค์ประกอบเชิงยืนยันของภาวะความจริง แท้ พบว่าค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องมีความกลมกลืนอยู่ในเกณฑ์ดี และผ่านเกณฑ์การพิจารณา ทุกค่า ประกอบด้วย ค่า X = 110.876 ; df = 97 ; p = 159 ; CFI = .956 ; GFI = .969 ; AGFI = ฺ952 ; RMSEA = .018; Chi-square/DF = 1.143) โดยตัวแปรแฝงความตระหนักรู้ (AW) มีค่า น้ําหนักปัจจัยมากที่สุด คือ 0.91 รองลงมา คือ วิถีแห่งความสัมพันธ์ (RO) ความประพฤติแห่งตน (BE) และ การประมวลผลอย่างไม่ลําเอียง (UP) มีค่าน้ําหนักปัจจัยเท่ากับ 0.70, 0.38 และ 0.36 ตามลําดับ จึงกล่าวได้ว่าแบบจําลองมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ 3. รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นําที่แท้ในนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ประกอบด้วยส่วนประกอบ 4 ส่วน ส่วนที่ 1 หลักการและวัตถุประสงค์ ส่วนที่ 2 องค์ประกอบความจริงแท้ของภาวะผู้นําในนักศึกษา ส่วนที่ 3 กระบวนการพัฒนาภาวะผู้นําที่แท้ ประกอบด้วย 1) ปัจจัยนําเข้า 2) กระบวนการดําเนินงานโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 3) ผลผลิต และส่วนที่ 4 การประเมินผลกระบวนการ-
Appears in Collections:260 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
448345.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons