Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18167
Title: รูปแบบการติดต่อสื่อสารแบบกระจายศูนย์บนพื้นฐานการแย่งชิงและแบ่งช่วงเวลาการใช้ช่องสัญญาณสำหรับเครือข่ายไร้สายบนร่างกายมนุษย์
Other Titles: Decentralized MAC Protocol Based on CSMA/CA and TDMA for Wireless Body Area Networks
Authors: ดุจดาว บูรณะพาณิชย์กิจ
พิชชากร ทิพย์พันธ์
Faculty of Engineering Electrical Engineering
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
Keywords: เครือข่ายไร้สายบนร่างกายมนุษย์;เครือข่ายตัวรับรู้ไร้สาย;ระบบสื่อสารไร้สาย;IEEE 802.15.4;TelosB;MAC Layer;CSMA/CA;TDMA;IEEE 802.15.6;Wireless Body Area Networks
Issue Date: 2021
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: This research aims to develop a communication protocol for decentralized medium access for Wireless Body Area Networks (WBANs). WBANs is a collection of vital signs and electrical signals measured from body parts to assist the analysis of treatment for patients using wireless data transmission. In this work, experiments have been built to study many parameters which affect to the network performance, the effects of data communication in the real environment and the development of wireless network to be more efficient in terms of saving energy. In this research, the actual experiments are performed using the TelosB motes, a wireless communication node based on the IEEE 802.15.4 standard, to study the effects of an attaching node on the body and improve the communication protocol in the MAC Layer. The combination of two communication protocols which are CSMA/CA and TDMA protocol to provide the network with the better communication capability. The experimental results showed that the Packet inter-arrival time over 15 milliseconds can get the high effective communication and our proposed method can save energy over a wireless communication standard 1.82 times.
Abstract(Thai): ในงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบรูปแบบการติดต่อสื่อสารแบบกระจายศูนย์สำหรับเครือข่ายไร้สายบนร่างกายมนุษย์ (WBANs) เป็นการรวบรวมสัญญาณชีพและสัญญาณไฟฟ้าที่วัดได้จากร่างกายหลายๆส่วนมาเป็นตัวช่วยในการวิเคราะห์หาแนวทางในการรักษาผู้ป่วยโดยใช้การส่งข้อมูลแบบไร้สาย ในงานวิจัยนี้ทำการทดลองศึกษาตัวแปรที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการสื่อสาร สภาพแวดล้อมที่ใช้ในงานจริงว่ามีผลต่อการสื่อสารข้อมูลเป็นอย่างไร และการพัฒนาการติดต่อสื่อสารไร้สายให้มีประสิทธิภาพในแง่ของการประหยัดพลังงาน ในงานวิจัยนี้ทำการทดลองจริงโดยใช้ TelosB ซึ่งเป็นโหนดสื่อสารไร้สายที่ทำงานอยู่บนมาตรฐาน IEEE 802.15.4 เพื่อศึกษาผลกระทบเมื่อมีการติดโหนดสื่อสารบนร่างกาย และปรับปรุงการติดต่อสื่อสารในชั้นของ MAC Layer โดยเราได้รวมเอาสองวิธีการสื่อสารแบบ CSMA/CA และ TDMA เข้ามารวมกันเพื่อให้เครือข่ายมีความสามารถในการติดต่อสื่อสารที่ดีขึ้นและประหยัดพลังงานมากขึ้น ในการทดลองพบว่าที่ช่วงเวลาของการส่งแต่ละแพ็คเก็ดตั้งแต่ 15 มิลลิวินาที ขึ้นไปมีประสิทธิภาพในการส่งข้อมูลที่สูงและวิธีการติดต่อสื่อสารที่นำเสนอพบว่าประหยัดพลังงานมากกว่าการติดต่อสื่อสารไร้สายมาตรฐาน 1.82 เท่า
Description: วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ้า), 2564
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18167
Appears in Collections:210 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6110120053.pdf6.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons