Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18165
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จุฑามณี ตระกูลมุทุตา | - |
dc.contributor.author | ภฤศวินท์ ชยาภิวัฒน์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-05-16T04:31:13Z | - |
dc.date.available | 2023-05-16T04:31:13Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18165 | - |
dc.description | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2563 | en_US |
dc.description.abstract | The objectives of this research were included: (1) To study problems in the implementation of Government 4.0 Policy of local administrative organizations in the three southern border provinces, (2) To compare problems of Government 4.0 Policy implementation in Yala City Municipality, Pattani Municipality, and Narathiwat Municipality, and (3) To collect opinions and suggestions for Government 4.0 Policy implementation of local administrative organizations in the three southern border provinces. This research is a qualitative research, there is a unit of organizational level analysis. The population that used in the research was local administrative organizations in the three southern border provinces. The sample group was selected from local administrative organizations as the largest municipality from each of three southern border provinces, such as Yala City Municipality, Pattani Municipality, and Narathiwat Municipality. The sample was divided into 2 groups, consist of: (1) The administrators of the local administrative organizations by using a purposive sampling method, there were selected 3 persons, (2) The personnel of the local administrative organizations by simple random sampling method, there were selected 23 persons. Overall 26 persons were included as the sample. The researcher collected data by collecting documents, in-depth interviews, and focus group discussion. Analytic Induction was used for data analysis. The results of the research were as follows: (1) There were problems in the implementation of Government 4.0 Policy of local administrative organizations in the three southern border provinces, in terms of competencies of personnel and capital. For example, there were insufficient personnel in the operation, the lack of knowledge and understanding about Government 4.0 Policy, and insufficient budget for the operation, (2) From the comparisons of Government 4.0 Policy implementation problems of Yala City Municiplaity, Pattani Municipality, and Narathiwat Municipality indicated that there were similar problems, and (3) Local administrative organizations in the three southern border provinces had opinions and suggestions that personnel of local administrative organizations have a lack of knowledge and understanding about Government 4.0 Policy so that training and education should be used. In addition, Government 4.0 Policy is not clear and concrete. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | ระบบราชการ 4.0 | en_US |
dc.subject | การนำนโยบายไปปฏิบัติ | en_US |
dc.title | ปัญหาในการนำนโยบายระบบราชการ 4.0 ไปปฏิบัติ กรณีศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ | en_US |
dc.title.alternative | Problems in the Implementation of Government 4.0 Policy A Case Study of Local Administrative Organizations in the Three Southern Border Provinces of Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Public Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาปัญหาในการนำนโยบายระบบราชการ 4.0 ไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ ปัญหาในการนำนโยบายระบบราชการ 4.0 ไปปฏิบัติของเทศบาลนครยะลา เทศบาลเมืองปัตตานี และ เทศบาลเมืองนราธิวาส และ (3) เพื่อรวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการนำนโยบายระบบ ราชการ 4.0 ไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีหน่วยการวิเคราะห์ระดับองค์การ ประชากรที่ใช้ ในการศึกษาวิจัย ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยได้คัดเลือกกลุ่ม ตัวอย่างจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาล ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่มีขนาดใหญ่ ที่สุดของแต่ละจังหวัด ได้แก่ เทศบาลนครยะลา เทศบาลเมืองปัตตานี และเทศบาลเมืองนราธิวาส โดย แบ่งกลุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลหลัก ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 3 ท่าน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง และ (2) บุคลากรขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 23 ท่าน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบง่าย รวมทั้งสิ้น 26 ท่าน ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม ใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า (1) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ พบ ปัญหาในการนำนโยบายระบบราชการ 4.0 ไปปฏิบัติ ด้านสมรรถนะขององค์การ ในเรื่องของบุคลากร และเงินทุน กล่าวคือ การขาดบุคลากรในการปฏิบัติงาน บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ นโยบายระบบราชการ 4.0 และมีงบประมาณไม่เพียงพอในการปฏิบัติงาน (2) จากการเปรียบเทียบ ปัญหาการนำนโยบายระบบราชการ 4.0 ไปปฏิบัติของเทศบาลนครยะลา เทศบาลเมืองปัตตานี และ เทศบาลเมืองนราธิวาส พบว่ามีปัญหาที่คล้ายคลึงกัน และ (3) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในสาม จังหวัดชายแดนภาคใต้มีความคิดเห็นและข้อเสนอแนะว่า บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายระบบราชการ 4.0 ควรมีการ ฝึกอบรมและให้ความรู้ อีกทั้งนโยบายระบบราชการ 4.0 ยังขาดความชัดเจนและไม่เป็นรูปธรรม | en_US |
Appears in Collections: | 465 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6010521517.pdf | 2.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License