Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18134
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบรรพต วิรุณราช-
dc.contributor.authorอภิวรรณ ใจสว่าง-
dc.date.accessioned2023-05-02T04:04:54Z-
dc.date.available2023-05-02T04:04:54Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18134-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2566en_US
dc.description.abstractThe research used a mix of methodologies on “Employees Retention in Private Organizations during Covid-19 Pandemic Era Without Layoff : A Case Study of Seafood Processing Factory Group Songkhla Province” The purpose of this study 1) How that put the Sustainable Development Goals (SDGs) guiding ideas into practice 2) to study how organizational product management and human resource management influence employee retention in private companies without deciding on a way to let people go. The sample group consisted of 200 executives, managers, deputy managers, and supervisors from seafood processing factories in Songkhla Province together with 10 labor academics and 2 social security academics. Surveys and questionnaires were used as the data collection methods interview. Descriptive data analysis using standard deviation percentage and means and inferential analysis by Multiple Regression Analysis at 0.05 significance level. The study result revealed that 1) Target 8 of the Sustainable Development Goals (SDGs) "Decent employment and economic growth" should be used to retain employees as much as feasible. 2) Work performance is one of the human resource management principles and concepts that encourages employees to stay with the organization as long as feasible is a study of how organizational merchandise management and human resource management techniques impact how long people stay in private firms. without selecting the four-sided method of disengagement incorporating welfare management, compensation, and labor relations Planning your human resources and evaluating your employees' performance across all seven areas. If there is an epidemic of other diseases, private organizations, and associated individuals, this research will be helpful. It can be used to retain workers in the company instead of opting to let them go efficiently.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการรักษาพนักงานen_US
dc.subjectการคงอยู่en_US
dc.subjectไม่เลือกปลดออกen_US
dc.titleการรักษาพนักงานให้คงอยู่ในองค์กรเอกชนยุคโรคระบาดโควิด-19 โดยไม่เลือกวิธีปลดออก กรณีศึกษา : กลุ่มบริษัทโรงงานแปรรูปอาหารทะเล จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeEmployees Retention in Private Organizations during Covid-19 Pandemic Era Without Layoff : A Case Study of Seafood Processing Factory Group Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thการศึกษางานวิจัยนี้ใช้การวิจัยแบบผสมวิธี เป็นการศึกษาการรักษาพนักงานให้คงอยู่ในองค์กรเอกชนยุคโรคระบาดโควิด-19 กรณีศึกษา : กลุ่มบริษัทโรงงานแปรรูปอาหารทะเล จังหวัดสงขลา โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาวิธีการรักษาพนักงานให้คงอยู่ในองค์กรเอกชนยุคโรคระบาดโควิด 19 มีวิธีการอย่างไร ที่นำหลักการของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) มาใช้ในการดำเนินการ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการทรัพยากรมนุษย์และการจัดการสินค้าขององค์กรที่ส่งผลต่อการรักษาพนักงานให้คงอยู่ในองค์กรเอกชน โดยไม่เลือกวิธีปลดออก กลุ่มตัวอย่าง คือ นักวิชาการแรงงาน จำนวน 10 คนนักวิชาการประกันสังคม จำนวน 2 คน และผู้บริหาร ผู้จัดการ รองผู้จัดการ และหัวหน้างานในกลุ่มบริษัทโรงงานแปรรูปอาหารทะเล จังหวัดสงขลา จำนวน 200 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regresstion Analysis) ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 หรือระดับความคลาดเคลื่อนร้อยละ 5 ผลการศึกษาพบว่า 1) การนำแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) มาใช้ในการรักษาพนักงานให้คงอยู่ในบริษัทมากที่สุด คือ เป้าหมายที่ 8 การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ 2) หลักการและแนวคิดในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ให้พนักงานคงอยู่ในบริษัทมากที่สุด คือ สมรรถนะในการทำงาน และการวิเคราะห์แนวทางการจัดการทรัพยากรมนุษย์และการจัดการสินค้าขององค์กรที่ส่งผลต่อวิธีการรักษาพนักงานให้คงอยู่ในองค์กรเอกชน โดยไม่เลือกวิธีปลดออกจำนวน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านแรงงานสัมพันธ์ ด้านการจัดการผลตอบแทนและสวัสดิการ ด้านการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ และด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน จากทั้งหมด 7 ด้าน ทั้งนี้งานวิจัยนี้เป็นประโยชน์หากมีการแพร่ระบาดของโรคชนิดอื่น องค์กรเอกชน และผู้ที่เกี่ยวข้อง สามารถนำไปปรับใช้กับการรักษาพนักงานให้คงอยู่ในองค์กรโดยไม่เลือกปลดพนักงานออก ได้อย่างมีประสิทธิภาพen_US
Appears in Collections:460 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6410521068.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open
6410521068.pdf4.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons