Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18114
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฆายนีย์ ช.บุญพันธ์-
dc.contributor.authorกมลชนก กลิ่นหอม-
dc.date.accessioned2023-04-27T06:34:09Z-
dc.date.available2023-04-27T06:34:09Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18114-
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2566en_US
dc.description.abstractThis study aims to accomplish four objectives: 1) to study the level of public participation in the progress towards a smart city in Nakhon Si Thammarat city municipality, 2) to compare public participation in the progress towards a smart city in Nakhon Si Thammarat city municipality based on demographic factors, 3) to explore the influence of perceptions about smart cities on public participation in the progress towards a smart city in Nakhon Si Thammarat city municipality, and 4) to explore the influence of attitudes towards smart cities on public participation in the progress towards a smart city in Nakhon Si Thammarat city municipality. The sample for this study comprises 537 residents aged 18 years and above, residing in the Nakhon Si Thammarat municipality, Mueang Nakhon Si Thammarat district, Nakhon Si Thammarat province. The population is divided proportionally by zones, and participants are selected using a convenience sampling method. This quantitative research employs a survey questionnaire with a 5-point Likert scale as its primary instrument. Statistical analyses used in this study include frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test (one-way ANOVA), Pearson's correlation coefficient, and multiple regression analysis. The findings reveal that public participation in the progress towards a smart city in Nakhon Si Thammarat city municipality is at a high level. When examining specific aspects, the highest average level of public participation is observed in the domain of benefit reception, followed by participation in task execution, participation in monitoring and evaluating outcomes, and participation in decision-making, respectively. The study also discovers that public participation levels in the progress towards a smart city in Nakhon Si Thammarat city municipality vary significantly based on age and average monthly income, with statistical significance at the .05 level. Furthermore, perceptions and attitudes about smart cities are significant factors influencing public participation in Nakhon Si Thammarat city municipality's smart city development, with statistical significance at the .05 level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectเมืองอัจฉริยะen_US
dc.subjectการรับรู้เกี่ยวกับเมืองอัจฉริยะen_US
dc.subjectทัศนคติที่มีต่อเมืองอัจฉริยะen_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมของประชาชนen_US
dc.subjectSmart Cityen_US
dc.subjectPerceptionen_US
dc.subjectAttitudeen_US
dc.subjectPublic Participationen_US
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการก้าวสู่เมืองอัจฉริยะ เทศบาลนครนครศรีธรรมราชen_US
dc.title.alternativeFactors Affecting Public Participation in the Progress towards a Smart City in Nakhon Si Thammarat City Municipalityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Public Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์-
dc.description.abstract-thการศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการก้าวสู่เมืองอัจฉริยะ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการก้าวสู่เมืองอัจฉริยะ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 3) เพื่อศึกษาการรับรู้เกี่ยวกับเมืองอัจฉริยะส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการก้าวสู่เมืองอัจฉริยะ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช และ 4) เพื่อศึกษาทัศนคติที่มีต่อเมืองอัจฉริยะส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการก้าวสู่เมืองอัจฉริยะ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปี ขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 537 คน โดยแบ่งสัดส่วนตามจำนวนประชากรแต่ละโซนพื้นที่ แล้วจึงดำเนินการด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามความสะดวก การศึกษาเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม โดยใช้มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแจกแจงแบบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการก้าวสู่เมืองอัจฉริยะ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ รองลงมา คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ถัดไปคือ ด้านการมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล และด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ตามลำดับ โดยประชาชนในเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช ที่มีอายุ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกัน มีส่วนร่วมของประชาชนในการก้าวสู่เมืองอัจฉริยะ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และปัจจัยการรับรู้เกี่ยวกับเมืองอัจฉริยะและทัศนคติที่มีต่อเมืองอัจฉริยะเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการก้าวสู่เมืองอัจฉริยะ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
Appears in Collections:465 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6410521501.pdf281.89 kBAdobe PDFView/Open
6410521501.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons