Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18041
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันชัย ธรรมสัจการ-
dc.contributor.authorกานต์สินี แก้วเพ็ง-
dc.date.accessioned2023-04-20T04:36:25Z-
dc.date.available2023-04-20T04:36:25Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18041-
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนามนุษย์และสังคม), 2565en_US
dc.description.abstractThis study is “Life of Thai victims of human trafficking in Neighbouring Countries and the implementation of assistance from the Government of Thailand” The purpose of this study were 1) to study the life of Thai victims of human trafficking in Neighbouring Countries. 2) to study the assistance victims of human trafficking of the Thai government. And 3) to study the problems and obstacles of helping victims. This research uses data collection methods from research studies, academic articles and other documents related. And the study had been conducted by the phenomenological qualitative approach and applied the in-depth interview with 8 Thais victims of human trafficking. In addition, the semi-structure interview was used with 5 person who were staff for helping victims of human trafficking of Royal Thai Embassy. The data analysis had been done by using the data processing, data categorizing, and the relation scheme synthesizing. The results showed that 1) Thais who victims of human trafficking in Neighbouring Countries. They were persuaded and deceived to work. The unwilling Thais victims, they always were seduced and kidnapped by applying anesthetic in food, beverages or drugs. Until the symptoms of intoxication and loss of consciousness therefore delivered to the terminal country. When the Thais victims arrived at the terminal country, they were forced sexual services and forced labor which will be threatened by the employer. Some were attacked and hold to work and often utilized. Thais sex workers were exploited for whoredom. Some workers were forced to work as prostitutes without pay. The Thais usually took advantages of the labors by giving excess working hours and extra jobs without extra pays. Thais labors who worked in fishery business were threatened, abused, and cruelly forced to work without additional pay and rest. And even when they were sick. Factors that contribute to the human trafficking. Economic factors, social factors, and environmental factors. Education, Family background, needs, and personality are examples of personal factors. Economic factors at the micro-level such as community economic structure, occupation, money income and at the macro-level such as values and migration trends also have their effects. Environment factors that may be considered include location-risk, residential areas and neighborhoods. 2) Helping victims of human trafficking from the Thai government in Neighbouring Countries, which it’s an assistance under the Royal Thai Embassy. It is only to help track and verify the status of people, as well as expedite the prosecution and coordinate repatriation when those persons were released. The basic assistance procedures are as follows: 1. receiving the incident report 2. Coordinating the anti-human trafficking police 3. Assistance 4. Investigating and sorting out the victims and 5. Repatriation to the country of origin. And 3) the problems and obstacles in helping victims found operator problem is the staff of the embassy is insufficient. Victim's problem is the victim did not cooperate with the authorities in providing truthful information. Coordination problems arise from the legal process of Neighbouring Countries that takes time to prosecute. And finally, the problem of information is the victim of misinformation because of the fear of being wrong. So, the embassy's assistance to Thai victims of human trafficking in Neighbouring Countries has been delayed before being able to help Thai people repatriate to their country of origin. Respondents had suggestion were as follows: 1) Government officials should active campaign and information dissemination so that people have a better understanding about human trafficking and thus protect them from the trafficking cycle. 2) Government, civil society, the private sector, and all sectors of society must cooperate and work together to seriously solve the problem of human trafficking. And 3) Government officials should observe and follow the solving problems of trafficking after repatriated them back to country.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการค้ามนุษย์en_US
dc.subjectชีวิตเหยื่อการค้ามนุษย์en_US
dc.subjectการดำเนินการช่วยเหลือen_US
dc.subjectเหยื่อการค้ามนุษย์en_US
dc.titleชีวิตเหยื่อจากการค้ามนุษย์ของชาวไทยในประเทศเพื่อนบ้าน และการดำเนินการช่วยเหลือของรัฐไทยen_US
dc.title.alternativeLife of Thai Victims of Human Trafficking in Neighbouring Countries and the Implementation of Assistance from the Government of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Liberal Arts (Educational Foundation)-
dc.contributor.departmentคณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาสารัตถศึกษา-
dc.description.abstract-thการศึกษาวิจัยเรื่อง ชีวิตเหยื่อจากการค้ามนุษย์ของชาวไทยในประเทศเพื่อนบ้านและการดำเนินการการช่วยเหลือของรัฐไทย มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาชีวิตของเหยื่อการค้ามนุษย์ชาวไทยในประเทศเพื่อนบ้าน 2) เพื่อศึกษาการช่วยเหลือของรัฐไทย และ 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการช่วยเหลือ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฎการณ์วิทยา (Phenomenology Study) งานวิจัยนี้ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผลงานวิจัย บทความวิชาการ และเอกสารอื่น ๆ เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์แบบเจาะลึกชาวไทยที่ตกเป็นเหยื่อค้ามนุษย์ จำนวน 8 คน และข้าราชการ เจ้าหน้าที่ และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง จำนวน 5 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการแบบกึ่งโครงสร้าง และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลโดยการจำแนกข้อมูล จัดกลุ่มข้อมูล และสังเคราะห์ความสัมพันธ์ของข้อมูล ผลการวิจัย พบว่า 1) ชาวไทยที่ตกเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์ในประเทศเพื่อนบ้านนั้นเกิดจากการถูกชักชวนและหลอกลวงให้เดินทางไปทำงาน และถูกแสวงหาประโยชน์ เหยื่อชาวไทยที่ไม่สมัครใจ มักถูกล่อลวง ชักชวน และลักพาตัว ในลักษณะของการถูกวางยาสลบในอาหาร เครื่องดื่ม หรือสิ่งเสพติด จนเกิดอาการมึนเมาและหมดสติ จึงนำส่งตัวไปยังประเทศปลายทาง เมื่อถึงประเทศปลายทางถูกนายจ้างบังคับไว้ทำงานเพื่อให้บริการทางเพศหรือบังคับใช้แรงงาน โดยถูกนายจ้างข่มขู่ บางส่วนถูกทำร้ายร่างกายและกักขังหน่วงเหนี่ยวให้ทำงาน ชาวไทยที่ถูกหลอกให้มาทำงานทางด้านเพศนั้นจะถูกแสวงหาประโยชน์จากการค้าประเวณี บางส่วนถูกบังคับค้าประเวณีโดยไม่ได้รับค่าจ้าง และชาวไทยที่ถูกหลอกให้มาเป็นแรงงานมักถูกนายจ้างเอาเปรียบค่าจ้าง โดยการให้ทำงานเกินเวลากำหนดหรือทำงานอื่นที่ไม่มีในข้อตกลงหรือสัญญาโดยไม่ได้รับค่าจ้างเพิ่มเติม ส่วนชาวไทยที่มาทำงานเป็นแรงงานลูกเรือประมงมักถูกบังคับใช้แรงงาน โดยการกดขี่ ทารุณ ข่มขู่และทำร้ายร่างกาย เพื่อบังคับให้ทำงานหนัก โดยไม่มีเวลาพักผ่อน และไม่ได้รับค่าจ้าง ถึงแม้จะเจ็บป่วย ส่วนปัจจัยที่ส่งผลต่อการตกเป็นเหยื่อค้ามนุษย์ของชาวไทยที่เดินทางมาทำงานในประเทศเพื่อนบ้าน ประกอบด้วยปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยเศรษฐกิจ ปัจจัยทางสังคม และปัจจัยสิ่งแวดล้อม เป็นต้น 2) การดำเนินการช่วยเหลือเหยื่อค้ามนุษย์ของรัฐไทยในประเทศเพื่อนบ้าน เป็นการช่วยเหลือภายใต้ของสถานเอกอัครราชทูต ซึ่งเป็นการช่วยเหลือติดตามและตรวจสอบสถานะของบุคคล รวมทั้งเร่งรัดการดำเนินคดีและประสานงานส่งตัวกลับประเทศ เมื่อบุคคลเหล่านั้นพ้นโทษ ซึ่งมีขั้นตอนการช่วยเหลือเบื้องต้น ดังนี้ 1. การรับแจ้งเหตุ 2. การประสานงานตำรวจปราบปรามการ ค้ามนุษย์ 3. การเข้าช่วยเหลือ 4. การสอบข้อเท็จจริงและคัดแยกเหยื่อ และ 5. การส่งกลับประเทศภูมิลำเนา และ 3) สำหรับปัญหาและอุปสรรคของการช่วยเหลือเหยื่อ พบว่า ปัญหาด้านผู้ปฏิบัติงาน เจ้าหน้าที่ของสถานเอกอัครราชทูต มีไม่เพียงพอ ปัญหาจากตัวเหยื่อ เหยื่อไม่ให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ในการให้ข้อมูลตามความเป็นจริง ปัญหาด้านการประสานงาน เกิดจากกระบวนการทางกฎหมายของประเทศเพื่อนบ้านที่ต้องใช้ระยะเวลาดำเนินคดี และสุดท้ายปัญหาเกี่ยวกับข้อมูล เหยื่อมีการบิดเบือนข้อมูล เนื่องจากกลัวตนเองมีความผิด ดังนั้น การช่วยเหลือเหยื่อการค้ามนุษย์ชาวไทยของสถานเอกอัครราชทูตในประเทศเพื่อนบ้านเป็นไปด้วยความล่าช้ากว่าจะสามารถช่วยเหลือคนไทยส่งกลับประเทศภูมิลำเนา ดังนั้น จึงมีข้อเสนอแนะ 1) รัฐควรมีประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาการค้ามนุษย์ เพื่อป้องกันตนเองไม่ให้ตกเป็นเหยื่อ 2) เจ้าหน้าที่ทุกภาคส่วนต้องมีความร่วมมือและมีความจริงจังแก้ปัญหาค้ามนุษย์ 3) รัฐบาลควรติดตาม ช่วยเหลือเยียวยา หลังจากส่งกลับประเทศภูมิลำเนา เพื่อป้องกันการกลับสู่วงจรกระบวนการค้ามนุษย์ซ้ำอีกครั้งen_US
Appears in Collections:895 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621110021.pdfวิทยานิพนธ์18.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons