Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18015
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบรรพต วิรุณราช-
dc.contributor.authorปฏิพัทธ์ ปลอดทอง-
dc.date.accessioned2023-04-19T09:09:31Z-
dc.date.available2023-04-19T09:09:31Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18015-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2565en_US
dc.description.abstractThe study’s objective were (1) To study and compare the student satisfaction with efficiency and effectiveness of support staff in the various services which is a quantitative research that collects data from the student in Prince of Songkla University Hatyai Campus, 393 people. Also use data analysis by independent t-test and One-Way ANOVA at 0.5 significance level. And (2) To study the problem-solving approach of support staff, utilizing the concept of sustainable development as an operational framework. which is qualitative research that collect data from the support staff and professors of Prince of Songkla University Hatyai Campus, 6 people. The result of the research revealed that the sample was the most female, studying in the 2nd year of the science and technology group and using the service 1-5 times a year. The comparative analysis revealed that (1) the students were more satisfied with the service efficiency than the service effectiveness in case of the students’ activities and education case. And (2) the students were more satisfied with service effectiveness than service efficiency in the students’ welfare and sports & recreation. The problem-solving approach in student service, utilizing the concept of sustainable development, Goal 4: Quality Education and Goal 10: Reduced Inequalities. Based on data mentioned above, it can be used to support the development of the service system and the service model in accordance with the needs of users and create satisfaction with the service of support staff.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectบุคลากรมหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกลุ่มงานสายสนับสนุนนักศึกษาen_US
dc.subjectนักศึกษาen_US
dc.subjectประสิทธิภาพen_US
dc.subjectประสิทธิผลen_US
dc.titleการเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริการของบุคลากรสายสนับสนุนนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่en_US
dc.title.alternativeThe Comparison of Students’ Satisfaction with Support staff’s Efficiency and Effectiveness in The Various Services, Prince of Songkla University, Hatyai Campusen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริการของบุคลากรสายสนับสนุนนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ในด้านการบริการต่างๆ โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งเก็บข้อมูลจากนักศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จำนวน 393 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเปรียบเทียบแบบรวมกลุ่ม (Independent t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) มีค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 และ (2) เพื่อศึกษาแนวทางการแก้ปัญหาบริการนักศึกษาของบุคลากรสายสนับสนุนนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โดยใช้หลักเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากบุคลากรสายสนับสนุนนักศึกษาและอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จำนวน 6 คน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาเพศหญิงกำลังศึกษาชั้นปีที่ 2 กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้บริการ 1-5 ครั้งต่อปีการศึกษา จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบพบว่า (1) นักศึกษามีความพึงพอใจต่อประสิทธิภาพในการบริการมากกว่าประสิทธิผลในการบริการในด้านกิจกรรมนักศึกษาและด้านการเรียนการสอน (2) นักศึกษามีความพึงพอใจต่อประสิทธิผลในการบริการมากกว่าประสิทธิภาพในการบริการในด้านสวัสดิการนักศึกษาและด้านกีฬาและนันทนาการ และแนวทางการแก้ปัญหาการบริการนักศึกษาโดยใช้เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนได้ให้ความสำคัญกับเป้าหมายที่ 4 คุณภาพการศึกษาที่เท่าเทียม และเป้าหมายที่ 10 การลดความเหลื่อมล้ำ จากข้อมูลการวิเคราะห์ข้างต้นจึงสามารถนำไปใช้ประกอบการพัฒนาระบบและรูปแบบการบริการให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บริการและเพื่อให้เกิดความพึงพอใจต่อการบริการของบุคลากรสายสนับสนุนนักศึกษาen_US
Appears in Collections:460 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6410521039.pdf984.73 kBAdobe PDFView/Open
6410521039 (NCAM 2022) .pdf168.15 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons